Search results

42 results in 0.06s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตตามหลักสัมมาอาชีวะในทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย 1) การแสวงหาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบทั้งทางกายและทางวาจา ถูกต้องทั้งด้านกฎหมายและศีลธรรม 2) การครอบครองรักษาที่ดี ตามหลักการออมทรัพย์ทางพระพุทธศาสนาหรือหลักโภควิภาค 4 ได้แก่ ทรัพย์หนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ใช้สอยเลี้ยงชีพ ทรัพย์สองส่วน (50 %) ออมไว้ประกอบอาชีพและทรัพย์อีกหนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ในยามจำเป็นและใช้ทำบุญ 3) การบริโภคใช้จ่ายอย่างถูกต้อง เหมาะสมและพอเพียง โดยให้ความสำคัญด้านคุณค่ามากกว่ามูลค่า และเน้นคุณประโยชน์มากกว่าความคุ้มทุน และมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองแก่ผู้อื่นและแก่สังคม สัมมาอาชีวะเป็นหลักการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบุคคลทั้งทางกาย ทางวาจา ทางจิตใจ อีกทั้งเกิดคุณค่าต่อการพัฒนาปัญญาให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต และยังมีคุณค่าต่อการเกื้อหนุนให้เกิดบุญกิริยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการเกื้อหนุนและส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อื่น และมีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมส่วนรวมทั้งด้านการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจนเกื้อหนุนการพัฒนาระบบจริยธรรมทางสังคมด้านอื่น ๆ ให้เข้มแข็งและมั่นคง ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายที่ก่อให้เกิดความสุขมวลรวมของคนในสังคมมากยิ่งขึ้น
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยสัมมาอาชีวะในมรรคมีองค์ 8 ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัย เชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตตามหลักสัมมาอาชีวะในทางพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย 1) การแสวงหาเลี้ยงชีพในทางที่ชอบทั้งทางกายและทางวาจา ถูกต้องทั้งด้านกฎหมายและศีลธรรม 2) การครอบครองรักษาที่ดี ตามหลักการออมทรัพย์ทางพระพุทธศาสนาหรือหลักโภควิภาค 4 ได้แก่ ทรัพย์หนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ใช้สอยเลี้ยงชีพ ทรัพย์สองส่วน (50 %) ออมไว้ประกอบอาชีพและทรัพย์อีกหนึ่งส่วน (25 %) ออมไว้ในยามจำเป็นและใช้ทำบุญ 3) การบริโภคใช้จ่ายอย่างถูกต้อง เหมาะสมและพอเพียง โดยให้ความสำคัญด้านคุณค่ามากกว่ามูลค่า และเน้นคุณประโยชน์มากกว่าความคุ้มทุน และมีจุดมุ่งหมายเพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ตนเองแก่ผู้อื่นและแก่สังคม สัมมาอาชีวะเป็นหลักการดำเนินชีวิตที่มีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ของบุคคลทั้งทางกาย ทางวาจา ทางจิตใจ อีกทั้งเกิดคุณค่าต่อการพัฒนาปัญญาให้รู้จักคิดอย่างมีเหตุผลในการดำเนินชีวิต และยังมีคุณค่าต่อการเกื้อหนุนให้เกิดบุญกิริยามากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังมีคุณค่าทางจริยธรรมต่อการเกื้อหนุนและส่งเสริม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้อื่น และมีคุณค่าต่อการพัฒนาสังคมส่วนรวมทั้งด้านการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ ตลอดจนเกื้อหนุนการพัฒนาระบบจริยธรรมทางสังคมด้านอื่น ๆ ให้เข้มแข็งและมั่นคง ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายที่ก่อให้เกิดความสุขมวลรวมของคนในสังคมมากยิ่งขึ้น
The thesis served its specific purposes: 1) to study the way of leading one’s life in Theravada philosophy, 2) to examine Right Livelihood in Noble Eightfold Paths following Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze the way of leading one’s life with Right Livelihood as such. As the documentary research, it was derived from the qualitative methodology. Data were studied out of The Tipitaka, commentaries, books and relevant research undertakings, collected between October B.E. 2560 and June B.E. 2561. Findings are the followings: Ways of leading one’s life following the principle of right livelihood in Buddhism is composed of two aspects. The first aspect is seeking for leading one’s life with physical, verbal, legal and moral decency. Another aspect is good possession and economy spending of incomes following criteria of four good divisions in Buddhism. One portion of incomes is provided for feeding family, accounting for 25 %. Two portions making up 50 % are allocated for doing careers. One portion is kept for saving in the rainy days and making merits. The further aspect is proper and sufficient consumption, placing more importance in true values than face values, putting more emphasis on benefits than cost effectiveness, with the aims for benefits of their own, others’ and society. Analyses of right livelihood have found that it has been treated as the foundation stone of leading one’s life with moral values for developing individual life in physical, verbal and mental channels. It creates values towards developing wisdom to logically think of leading one’s life and making great contribution to accumulating much more merits. In addition, leading one’s life following right livelihood still have moral values for assistance and support of others’ life. All in all, it also has values for developing society in common in governmental, political, economic area, including the support of developing the moral system of society to be strong and stable, which will lead to the target giving rise to the mass happiness of members in the society
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558