Search results

7 results in 0.08s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 2) เพื่อศึกษาความผูกพันของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความผูกพันของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นสถานศึกษาในจังหวัดราชบุรี รวมทั้งหมด 24 โรง จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 192 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน ด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาการทำงานให้แก่ครูและบุคลากรในสถานศึกษา รองลงมา ได้แก่ การจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน (หน้าที่รับผิดชอบ) การสรรหาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเข้ามาปฏิบัติงาน การพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การส่งเสริมขวัญและกำลังใจสำหรับครูและบุคลากรในสถานศึกษา 2. ความผูกพันของครูในสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนจากมากไปหาน้อย คือ ความผูกพันต่องาน และ ความผูกพันต่อองค์การ ตามลำดับ 3. การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความผูกพันของครูในสถานศึกษา ประกอบด้วย ด้านการสรรหาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเข้ามาปฏิบัติงาน ด้านการจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน (หน้าที่รับผิดชอบ) ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และด้านการให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาการทำงานให้แก่ครูและบุคลากรในสถานศึกษา สามารถทำนายความผูกพันของครูด้านความผูกพันต่อองค์การ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีสมการแสดงความสัมพันธ์ในรูปของสมการพยากรณ์คะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน คือ Y1 = .207 + .186 (X1) + 137 (X2) + .310 (X3) + .282 (X5) Z1 = .178 (ZX1) + .169 (ZX2) + .250 (ZX3) + .286 (ZX5) Y2 = 2.784 + .176 (X1) + .171 (X2) Z2 = .161 (ZX1) + 198 (ZX2)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 2) เพื่อศึกษาความผูกพันของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความผูกพันของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นสถานศึกษาในจังหวัดราชบุรี รวมทั้งหมด 24 โรง จำนวนผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 192 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS for Windows ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน ด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด คือ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาการทำงานให้แก่ครูและบุคลากรในสถานศึกษา รองลงมา ได้แก่ การจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน (หน้าที่รับผิดชอบ) การสรรหาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเข้ามาปฏิบัติงาน การพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ การส่งเสริมขวัญและกำลังใจสำหรับครูและบุคลากรในสถานศึกษา 2. ความผูกพันของครูในสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนจากมากไปหาน้อย คือ ความผูกพันต่องาน และ ความผูกพันต่อองค์การ ตามลำดับ 3. การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความผูกพันของครูในสถานศึกษา ประกอบด้วย ด้านการสรรหาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพเข้ามาปฏิบัติงาน ด้านการจัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน (หน้าที่รับผิดชอบ) ด้านการพัฒนาครูและบุคลากรในสถานศึกษาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และด้านการให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาการทำงานให้แก่ครูและบุคลากรในสถานศึกษา สามารถทำนายความผูกพันของครูด้านความผูกพันต่อองค์การ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีสมการแสดงความสัมพันธ์ในรูปของสมการพยากรณ์คะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน คือ Y1 = .207 + .186 (X1) + 137 (X2) + .310 (X3) + .282 (X5) Z1 = .178 (ZX1) + .169 (ZX2) + .250 (ZX3) + .286 (ZX5) Y2 = 2.784 + .176 (X1) + .171 (X2) Z2 = .161 (ZX1) + 198 (ZX2)
The objectives of this study were: 1) to study the personnel management of school administrators under the Secondary Educational Service Area Office 8, 2) to study the teacher attachment in schools under the Secondary Educational Service Area Office 8 and, 3) to study the personnel management of school administrators that affect teacher attachment in school under the Secondary Educational Service Area Office 8. The sample of the study was 24 schools in Ratchaburi Province. There were 192 informants. The research tool was questionnaire. Data was analyzed using SPSS for Windows to analysis of basic statistics. Coefficient of correlation and Stepwise multiple regression analysis. The results of research were as follows: 1. The personnel management of school administrators in overall was high level, when considering in aspect was high level at all aspect. The maximum mean aspect was to advice and solve the problem about working for teachers and school personnel, then to manage the right people into the right job (duties and responsibilities), effective personnel recruitment for operation, improving teachers and personnel at schools to perform efficiently duties. In addition, the minimum mean aspect was encouragement for teachers and personnel at schools. 2. Teacher attachment at schools in overall was at high level, when considering each aspect by arranging maximum to minimum scores that work commitment and organizational commitment, respectively. 3. The personnel management of school administrators that affected teacher attachment in schools included the effective personnel recruitment for operation, manage the right people into the right job (duties and responsibilities), improving teachers and personnel in schools to perform efficiently duties and to advised and solved the problem about working for teachers and personnel in schools. It could predict teacher attachment about organizational commitment statistically significant at the 0.05 level. Where equation was shown the relationship as forecasting raw and standard scores as follows: Y1 = .207 + .186 (X1) + 137 (X2) + .310 (X3) + .282 (X5) Z1 = .178 (ZX1) + .169 (ZX2) + .250 (ZX3) + .286 (ZX5) Y2 = 2.784 + .176 (X1) + .171 (X2) Z2 = .161 (ZX1) + 198 (ZX2)
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักพรหมวิหารธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร และ 3) ศึกษาการบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักพรหมวิหารธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร โดยใช้สถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร จำนวน 44 แห่ง เป็นหน่วยวิเคราะห์ (Unit of Analysis) ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 6 คน คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครู ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งสิ้น จำนวน 264 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Athematic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การทดสอบสมมติฐาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า: 1. การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักพรหมวิหารธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการเลื่อนขั้นเงินเดือน ด้านการพัฒนาและฝึกอบรม ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง และด้านการวางแผนอัตรากำลัง ตามลำดับ 2. การปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านความสัมพันธ์ของบุคลากรในองค์กร ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน ด้านระบบการให้ผลตอบแทน ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ ด้านสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ด้านความสำเร็จในการทำงาน ตามลำดับ 3. การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักพรหมวิหารธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาด้านการวางแผนอัตรากำลังและด้านการเลื่อนขั้นเงินเดือน ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนายได้ร้อยละ 29.0 (R^2 = .290) สามารถเขียนเป็นรูปสมการวิเคราะห์การถดถอย ได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y_tot = 2.273 + .262(X_1) + .233(X_5) (R^2 = .290) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂_y = .316(Z_x1) + .282(Z_x5) (R^2 = .290)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักพรหมวิหารธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร และ 3) ศึกษาการบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักพรหมวิหารธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร โดยใช้สถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร จำนวน 44 แห่ง เป็นหน่วยวิเคราะห์ (Unit of Analysis) ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 6 คน คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครู ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งสิ้น จำนวน 264 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Athematic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การทดสอบสมมติฐาน ใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า: 1. การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักพรหมวิหารธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการเลื่อนขั้นเงินเดือน ด้านการพัฒนาและฝึกอบรม ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง และด้านการวางแผนอัตรากำลัง ตามลำดับ 2. การปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านความสัมพันธ์ของบุคลากรในองค์กร ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน ด้านระบบการให้ผลตอบแทน ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ ด้านสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ด้านความสำเร็จในการทำงาน ตามลำดับ 3. การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักพรหมวิหารธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาด้านการวางแผนอัตรากำลังและด้านการเลื่อนขั้นเงินเดือน ส่งผลต่อการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนายได้ร้อยละ 29.0 (R^2 = .290) สามารถเขียนเป็นรูปสมการวิเคราะห์การถดถอย ได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y_tot = 2.273 + .262(X_1) + .233(X_5) (R^2 = .290) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂_y = .316(Z_x1) + .282(Z_x5) (R^2 = .290)
The purposes of this research were: 1) to study the integrative personnel management with Brahama Vihara Dhamma of school administrators in schools under the office of the Non-formal and Informal education Bangkok Metropolitan Administration, 2) to study the performance of teachers in schools under the office of the Non-formal and Informal education Bangkok Metropolitan Administration and, 3) to study the integrative personnel management with Brahama Vihara Dhamma of school administrators affecting to performance of teachers in schools under the office of the Non-formal and Informal education Bangkok Metropolitan Administration. The samples used as unit of analysis were selected from six informants as the directors of schools administrators, government teacher, teachers and educational personnel under the office of the Non-formal and Informal education Bangkok Metropolitan Administration of 44 schools totally number of 264 person. The research instruments used for data collection was a questionnaire. The statistics used in data analyzing were frequencies (Frequency), percent (Percentage), average (Mean), standard deviation (S.D.) and stepwise multiple regression analysis. The results of the research ware as follows: 1. The integrative personnel management with Brahama Vihara Dhamma of school administrators under the office of the Non-formal and Informal education Bangkok Metropolitan Administration in overall average was found as the ‘Most’ level by average from highest to lowest level that is the salary promotion, training and development, performance appraisal, recruitment and appointment, and human resource planning respectively. 2. The performance of teachers in schools under the office of the Non-formal and Informal education Bangkok Metropolitan Administration in overall average was found at a high level by average from highest to lowest level that is the influence employee organization relationships, advancement in the position and career, system of remuneration system, to be respected, the nature of the work performed, work environment, and success in work respectively. 3. The integrative personnel management with Brahama Vihara Dhamma of school administrators in the field human resource planning and salary promotion respectively influenced on; the performance of teachers in schools under the office of the Non-formal and Informal education Bangkok Metropolitan Administration was statistically significant at the 0.01 levels. The coefficient of prediction or power of prediction at 29.0 (R^2 = .290) and it can be written as a regression analysis equation as follows; The raw score Y ̂_tot = 2.273 + .262(X_1) + .233(X_5) (R^2 = .290) The standard equation Z ̂_y = .316(Z_x1) + .282(Z_x5) (R^2 = .290)
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารเชิงกลยุทธ์ตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 2.) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารเชิงกลยุทธ์ตามหลักไตรสิกขากับการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยใช้สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 จำนวน 72 แห่งเป็นหน่วยวิเคราะห์ (Unit of Analysis) ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 6 คน คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งสิ้น จำนวน 419 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Athematic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correiation Coeffieiont) ผลการวิจัยพบว่า: 1. การบริหารเชิงกลยุทธ์ตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ คือ ด้านการวางแผนอัตรากำลัง ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง และด้านการส่งเสริมวินัย คุณธรรมจริยธรรม ตามลำดับ 2. การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการเปลี่ยนตำแหน่งให้สูงขึ้นการย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านการส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านการส่งเสริมวินัย คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านการดำเนินการเกี่ยวกับการเลื่อนขั้นเงินเดือน ด้านการส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ ด้านการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ ตามลำดับ 3. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์การบริหารเชิงกลยุทธ์ตามหลักไตรสิกขากับการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ด้านไตรสิกขา และด้านการวางแผนอัตรากำลัง ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง และด้านการส่งเสริมวินัย คุณธรรมจริยธรรม ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนายได้ร้อยละ 29.0 ในแต่ละด้านได้ดังนี้ 1) ด้านการวางแผนอัตรากำลังอยู่ที่ 0.70 2) ด้านการส่งเสริมวินัย คุณธรรมจริยธรรม อยู่ที่ 0.67 3)ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน อยู่ที่ 0.68 และ 4) ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง อยู่ที่ 0.17
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารเชิงกลยุทธ์ตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 2.) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารเชิงกลยุทธ์ตามหลักไตรสิกขากับการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยใช้สถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 จำนวน 72 แห่งเป็นหน่วยวิเคราะห์ (Unit of Analysis) ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 6 คน คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งสิ้น จำนวน 419 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต (Athematic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correiation Coeffieiont) ผลการวิจัยพบว่า: 1. การบริหารเชิงกลยุทธ์ตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ คือ ด้านการวางแผนอัตรากำลัง ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงานด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง และด้านการส่งเสริมวินัย คุณธรรมจริยธรรม ตามลำดับ 2. การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการเปลี่ยนตำแหน่งให้สูงขึ้นการย้ายข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านการส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านการส่งเสริมวินัย คุณธรรมและจริยธรรมสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ด้านการดำเนินการเกี่ยวกับการเลื่อนขั้นเงินเดือน ด้านการส่งเสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ ด้านการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ ตามลำดับ 3. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์การบริหารเชิงกลยุทธ์ตามหลักไตรสิกขากับการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ด้านไตรสิกขา และด้านการวางแผนอัตรากำลัง ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง และด้านการส่งเสริมวินัย คุณธรรมจริยธรรม ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนายได้ร้อยละ 29.0 ในแต่ละด้านได้ดังนี้ 1) ด้านการวางแผนอัตรากำลังอยู่ที่ 0.70 2) ด้านการส่งเสริมวินัย คุณธรรมจริยธรรม อยู่ที่ 0.67 3)ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน อยู่ที่ 0.68 และ 4) ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง อยู่ที่ 0.17
The objectives of this research were 1) to study the strategic management according to the tri-sikkha principles of educational institute administrators. Under the Samut Prakan Primary Educational Service Area Office 1 2.) To study personnel management of educational institution administrators. under the SamutPrakan Primary Educational Service Area Office 1 3) to analyze the relationship of the thri-sixkha strategic management with the personnel management of educational institution administrators. under the SamutPrakan Primary Educational Service Area Office 1, using the educational institutions Under the SamutPrakan Primary Educational Service Area Office 1. Zone 72 locations are the Unit of Analysis. Group Leader Government teachers and educational personnel totaling 419 people. The instrument used was a questionnaire. Data analysis uses software packages. The statistics used to analyze the data are frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation. The results showed that: 1. Strategic management according to the threefold principles of school administrators Under the Samut Prakan Primary Educational Service Area Office 1, the overall picture is at a high level. By sorting the arithmetic mean value from highest to lowest is the power rate planning aspect. Evaluation of the performance of recruitment and appointment and the promotion of discipline morality, ethics, respectively 2. Personnel administration in educational institutions Under the Samut Prakan Primary Educational Service Area Office. the overall picture is at a high level. By sorting the arithmetic mean values from highest to lowest as follows: Change of position to a higher position, transfer of government teacher and education personnel Promotion of academic assessment of government teacher and education personnel Performance evaluation Development of government teachers and educational personnel Discipline promotion Moral and Ethics for Government Teachers and Educational Personnel Actions related to salary advancement Promotion and honour Promotion of professional standards and professional ethics, respectively. 3. Analysis of the relationship of strategic management according to the trisikkha principles and personnel management of educational institution administrators Under the Samut Prakan Primary Educational Service Area Office, Region 1, tri-sikkha in the field of manpower planning Performance appraisal Nomination and Appointment and the promotion of discipline morality Affects personnel management in educational institutions Under the Samut Prakan Primary Educational Service Area Office 1, the statistical significance at the .01 level had a predictive coefficient of 29.0% in each aspect as follows: 1) the power rate planning aspect was at 0.70; 2) the promote discipline Moral and Ethics at 0.67 3) Performance Assessment at 0.68 and 4) Nomination and Appointment at 0.17
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรีเขต 2 2) บรรยากาศองค์การของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรีเขต 2 และ 3) การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุที่ส่งผลต่อบรรยากาศองค์การในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 จำนวน 94 แห่ง กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 94 คน ข้าราชการครู จำนวน 282 คน บุคลากรในโรงเรียนจำนวน 94 คน รวมทั้งสิ้น 470 คน โดยการสุ่มหลายขั้นตอน (Multistate Random) เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) มีดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาอยู่ระหว่าง 0.80 – 1.00 ดัชนีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.974 และ 0.981 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต ("X" ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า. 1. การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยจัดอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ การรักษาวินัยในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ การสรรหาในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ การจัดสวัสดิการในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ การวางแผนในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ การพัฒนาบุคลากรในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ ตามลำดับ 2. บรรยากาศองค์การของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยจัดอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ความรับผิดชอบงาน (Responsibility) โครงสร้างการปฏิบัติงาน (Structure) การสนับสนุนการปฏิบัติงาน (Support) มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standards) การมุ่งเน้นรางวัล (Reward orientation) ตามลำดับ 3. การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุที่ส่งผลต่อบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 ตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ การรักษาวินัยในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ (X4) การวางแผนในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ (X1) การจัดสวัสดิการในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ (X5) การสรรหาในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ (X2) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทํานายหรืออำนาจพยากรณ์ร้อยละ 73.70 (R2 = 0.737) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ สมการรูปคะแนนดิบ "Y" ̂ = 0.524 + 0.305 (X4) + 0.225 (X1) + 0.202 (X5) + 0.147 (X2) สมการรูปคะแนนมาตรฐาน "Z" ̂ = 0.323 (X4) + 0.217 (X1) + 0.215 (X5) + 0.163 (X2)
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรีเขต 2 2) บรรยากาศองค์การของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรีเขต 2 และ 3) การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุที่ส่งผลต่อบรรยากาศองค์การในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 จำนวน 94 แห่ง กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 94 คน ข้าราชการครู จำนวน 282 คน บุคลากรในโรงเรียนจำนวน 94 คน รวมทั้งสิ้น 470 คน โดยการสุ่มหลายขั้นตอน (Multistate Random) เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม (Questionnaire) มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) มีดัชนีความตรงเชิงเนื้อหาอยู่ระหว่าง 0.80 – 1.00 ดัชนีความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.974 และ 0.981 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่ามัชฌิมเลขคณิต ("X" ̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า. 1. การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยจัดอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ การรักษาวินัยในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ การสรรหาในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ การจัดสวัสดิการในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ การวางแผนในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ การพัฒนาบุคลากรในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ ตามลำดับ 2. บรรยากาศองค์การของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยจัดอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ความรับผิดชอบงาน (Responsibility) โครงสร้างการปฏิบัติงาน (Structure) การสนับสนุนการปฏิบัติงาน (Support) มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standards) การมุ่งเน้นรางวัล (Reward orientation) ตามลำดับ 3. การบริหารงานบุคคลเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุที่ส่งผลต่อบรรยากาศองค์การในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 ตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ การรักษาวินัยในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ (X4) การวางแผนในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ (X1) การจัดสวัสดิการในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ (X5) การสรรหาในการบริหารงานบุคคลตามหลักสังคหวัตถุ (X2) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทํานายหรืออำนาจพยากรณ์ร้อยละ 73.70 (R2 = 0.737) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ สมการรูปคะแนนดิบ "Y" ̂ = 0.524 + 0.305 (X4) + 0.225 (X1) + 0.202 (X5) + 0.147 (X2) สมการรูปคะแนนมาตรฐาน "Z" ̂ = 0.323 (X4) + 0.217 (X1) + 0.215 (X5) + 0.163 (X2)
The objectives of this thesis were to study 1) Integrated Personnel Management in Sangahavattha Principles in schools under the Office of Phetchaburi Primary Educational Service Area 2. 2) Organizational Atmosphere of schools under the Office of Phetchaburi Primary Educational Service Area 2. and 3) Integrated Personnel Management in Sangahavattha Principles Affecting Organizational Atmosphere in Schools under the Office of Phetchaburi Primary Educational Service Area 2. The sample consisted of 94 Schools under the Office of Phetchaburi Primary Educational Service Area 2. The group of informants consisted of 94 school administrators, 282 government teachers, 94 school personnel, a total of 470 people, by multistate randomization. The instrument used was a questionnaire, a rating scale with a content validity index between 0.80–1.00 and a confidence index of 0.974 and 0.981. The statistics used in the data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The results of research were found that: 1. Integrated Personnel Management on Sangahavattha Principles in Schools Under the Office of Phetchaburi Primary Educational Service Area 2, the overall is at a high level. When considering each aspect, it was at a high level in every aspect. The average is ranked from highest to lowest as follows: Maintaining discipline, Recruitment, Welfare, Planning and Development in personnel management according to Sangahavattha principles, respectively. 2. Organizational atmosphere of Schools Under the Office of Phetchaburi Primary Educational Service Area 2, the overall is at a high level. When considering each aspect, it was at a high level in every aspect. The average is ranked from highest to lowest as follows: Responsibility, Structure, Performance Support, Standards, Reward orientation, respectively. 3. The integration of personnel management with Sangahavathu principles affecting organizational atmosphere in schools under Phetchaburi Primary Educational Service Area Office 2, The average is ranked from highest to lowest as follows: Maintaining discipline (X4), Planning (X1), Welfare (X5) and Recruitment (X2) in personnel management according to Sangahavattha principles. The predictive coefficient or predictive power of 73.70% (R2 = 0.737) was statistically significant at the .01 level. The relationship can be written in the form of a forecast equation as follows. Raw score form equation "Y" ̂ = 0.524 + 0.305 (X4) + 0.225 (X1) + 0.202 (X5) + 0.147 (X2). Standard score equation "Z" ̂ = 0.323 (X4) + 0.217 (X1) + 0.215 (X5) + 0.163 (X2).
หนังสือ

    การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ จำแนกตาม เพศ อายุ และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ ประชากรในการวิจัยครั้งนี้เป็นครูผู้สอนโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์จำนวน 105 คน และผู้ให้สัมภาษณ์จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ t – test (Independent Samples) ผลการวิจัยพบว่า : 1) การบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านกรุณา รองลงมาคือ ด้านอุเบกขา ด้านมุทิตา ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ด้านเมตตา 2) การเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรมจำแนกตาม เพศ อายุ และประสบการณ์การทำงาน พบว่า โดยรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ยกเว้น ประสบการณ์การทำงาน ที่ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียน พระปริยัติธรรมได้แนวทาง ดังนี้ (1) การแสดงออกถึงความรักความปรารถนาดี ให้ความช่วยเหลือให้ทุกคนประสบแต่ประโยชน์และมีความสุขโดยทั่วกัน และยึดหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม (2) หากการทำงานเกิดปัญหาหรืออุปสรรค สิ่งแรกที่หัวหน้าควรทำ คือการพูดคุย สอบถามถึงปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมชี้แนะแนวทางการแก้ไขและพูดให้กำลังใจ โดยไม่ปล่อยให้ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องเผชิญปัญหาเพียงลำพัง (3) ความยินดี พลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดีได้รับความสำเร็จ มีความสุขมีความเจริญก้าวหน้า ยินดีในสิ่งที่ผู้อื่นได้รับ ไม่มีความอิจฉาริษยากันในความสำเร็จของผู้อื่นด้วยการพูดแสดงความยินดี (4) เมื่อประสบกับอุปสรรคในการทำงานใด ๆ ต้องให้ความช่วยเหลือให้ผ่านพ้นอุปสรรคไปได้ ไม่ซ้ำเติมด้วยการลงโทษอย่างไม่เป็นธรรม ลงโทษโดยไร้เหตุผล
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ จำแนกตาม เพศ อายุ และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ ประชากรในการวิจัยครั้งนี้เป็นครูผู้สอนโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์จำนวน 105 คน และผู้ให้สัมภาษณ์จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ t – test (Independent Samples) ผลการวิจัยพบว่า : 1) การบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านกรุณา รองลงมาคือ ด้านอุเบกขา ด้านมุทิตา ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ด้านเมตตา 2) การเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรมจำแนกตาม เพศ อายุ และประสบการณ์การทำงาน พบว่า โดยรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ยกเว้น ประสบการณ์การทำงาน ที่ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียน พระปริยัติธรรมได้แนวทาง ดังนี้ (1) การแสดงออกถึงความรักความปรารถนาดี ให้ความช่วยเหลือให้ทุกคนประสบแต่ประโยชน์และมีความสุขโดยทั่วกัน และยึดหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม (2) หากการทำงานเกิดปัญหาหรืออุปสรรค สิ่งแรกที่หัวหน้าควรทำ คือการพูดคุย สอบถามถึงปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมชี้แนะแนวทางการแก้ไขและพูดให้กำลังใจ โดยไม่ปล่อยให้ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องเผชิญปัญหาเพียงลำพัง (3) ความยินดี พลอยยินดีเมื่อผู้อื่นได้ดีได้รับความสำเร็จ มีความสุขมีความเจริญก้าวหน้า ยินดีในสิ่งที่ผู้อื่นได้รับ ไม่มีความอิจฉาริษยากันในความสำเร็จของผู้อื่นด้วยการพูดแสดงความยินดี (4) เมื่อประสบกับอุปสรรคในการทำงานใด ๆ ต้องให้ความช่วยเหลือให้ผ่านพ้นอุปสรรคไปได้ ไม่ซ้ำเติมด้วยการลงโทษอย่างไม่เป็นธรรม ลงโทษโดยไร้เหตุผล
The objectives of the research were 1) to study personnel management based on the Four Sublime States of Mind by administrators of the General Education Section of Phrapariyattidhamma School in Kalasin Province, 2) to compare the personnel management based on the Four Sublime States of Mind by administrators classified by gender, age and working experiences, and 3) to find out the guidelines for personnel management based on the Four Sublime States of Mind by administrators as mentioned. Population were the teachers, totally 105 in number and 5 interviews. The instrument for collecting the data was the five-rating scale questionnaire, with its reliability value at 0.98 and quality-verified interview. The data collected were analyzed by the computer program, and the statistical devices composed of Frequency, percentage, mean, standard deviation. The hypothesis was tested with t-test. The research results were as follows: 1) personnel management based on the Four Sublime States of Mind by administrators of the General Education Section of Phrapariyattidhamma School In Kalasin Province was found, in both overall and individual aspects, to stand at a 'MUCH' level. The leading aspect was that of compassion, followed by equanimity, sympathetic joy and loving-kindness, respectively. 2) The comparison of personnel management based on the Four Sublime States of Mind by administrators in mention classified by gender and age was found to show statistically significant difference of .05 in both overall and individual dimensions, with exception to the comparison in the aspect of working experiences that showed no difference. 3) The guidelines for application of the Four Sublime States of Mind to personnel administration by administrators as suggested by the responses were: (1) The participatory administration should be implemented and the expression of loving-kindness and compassion should be all-covering without discrimination. (2) In case there have been arisen either problems or obstacles, the administrator should help solve them by providing advices and solutions instead of leaving them to be redressed by the subordinates themselves. (3) The expression of congratulations or sympathetic joy should be performed in case of any rewards or success being received or achieved by some colleagues. (4) In case of wrongdoings committed by any staff members, the clear and fair investigation and probation should be undertaken in order to prevent unjust punishment.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยจำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และขนาดโรงเรียน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำนวน 342 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหาเท่ากับ 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .98 และแบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า : 1) การบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน รองลงมา คือ ด้านการวางแผนกำหนดตำแหน่ง ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านวินัยและการรักษาวินัย 2) การเปรียบเทียบระดับการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และขนาดโรงเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) แนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด มีการวางแผนกำหนดตำแหน่ง การบรรจุและการแต่งตั้งบุคลากรเข้าปฏิบัติหน้าที่ต้องให้เป็นไปตามคำสั่ง สพฐ. สนับสนุนส่งเสริมในการทำงาน กำกับติดตามการนิเทศงาน ให้คำชี้แนะให้อยู่ในระเบียบวินัย ควรให้ความรู้การปฏิบัติงานตามระเบียบราชการ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยจำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และขนาดโรงเรียน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำนวน 342 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหาเท่ากับ 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .98 และแบบสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า : 1) การบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน รองลงมา คือ ด้านการวางแผนกำหนดตำแหน่ง ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านวินัยและการรักษาวินัย 2) การเปรียบเทียบระดับการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำแนกตามระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และขนาดโรงเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) แนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด มีการวางแผนกำหนดตำแหน่ง การบรรจุและการแต่งตั้งบุคลากรเข้าปฏิบัติหน้าที่ต้องให้เป็นไปตามคำสั่ง สพฐ. สนับสนุนส่งเสริมในการทำงาน กำกับติดตามการนิเทศงาน ให้คำชี้แนะให้อยู่ในระเบียบวินัย ควรให้ความรู้การปฏิบัติงานตามระเบียบราชการ
The objectives of this thesis were as follows 1) to study the levels of Personnel Administration based on Four Sublime States of Mind of School Administrators under the Roi Et Secondary Educational Service Area Office 2) to compare the levels of Personnel Administration based on Four Sublime States of Mind of School Administrators under the Roi Et Secondary Educational Service Area Office, classified by educational level, work experience, and school size 3) to study guidelines for Personnel Administration based on Four Sublime States of Mind of School Administrators under the Roi Et Secondary Educational Service Area Office. The sample group used in this research was 342 of the secondary school instructors under the Roi Et Secondary Educational Service Area Office. The instrument used for data collection was a 5-level estimation scale questionnaire with content accuracy of 0.67 – 1.00, a confidence level of 0.98, and interview. The results showed that: 1) The levels of Personnel Administration based on Four Sublime States of Mind of School Administrators under the Roi Et Secondary Educational Service Area Office. Overall, it was at a high level, considering from each side in order from the highest to the lowest average. It was found that the highest average was enhancing operational efficiency (kindly), followed by the positioning planning (prosperity), whereas the lowest was the discipline and the maintenance of discipline (merciful), respectively. 2) A comparison of the levels of Personnel Administration based on Four Sublime States of Mind of School Administrators under the Roi Et Secondary Educational Service Area Office, classified by educational level, work experience, and school size. There was a statistically significant difference at the 0.05 level. 3) Guidelines for Personnel Administration based on Four Sublime States of Mind of School Administrators under the Roi Et Secondary Educational Service Area Office were Position planning, Personnel recruitment, and Personnel appointment to perform duties need to be in accordance with the Office of the Basic Education Commission Order (OBEC), work supporting and promoting, following up supervision, and giving advice about disciplined and providing knowledge of the operation according to government regulations.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูและบุคลากรต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำแนกตาม อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมภิบาล ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 342 คน และผู้ให้สัมภาษณ์ 5 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ t–test (Independent Samples) และ F–test ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน รองลงมา คือ ด้านการวางแผนกำหนดตำแหน่ง ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านวินัยและการรักษาวินัย 2) การเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูและบุคลากรต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำแนกตาม อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) แนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ร้อยเอ็ด ได้แก่ 1) ผู้บริหารควรวางตัวบุคคลตามความถนัดความสามารถ ความพร้อมใจ และดูแลทั้งด้านครอบครัว สุขภาพ ภาระงานตรงตามความสามารถ 2) ผู้บริหารควรให้ความใส่ใจและไว้วางใจในการทำงานชื่นชมยินดีและไม่ก้าวก่ายแทรกแซงการทำงาน 3) ผู้บริหารควรสนับสนุนส่งเสริมในการทำงาน และช่วยแก้ไขปัญหาที่พบในการปฏิบัติหน้าที่ 4) ผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้โอกาสบุคลากรในการพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพของบุคคล 5) ผู้บริหารควรให้คำชี้แนะการปฏิบัติตัว ตักเตือนการวางตัวให้อยู่ในระเบียบวินัย 6) ให้คำชี้แนะ ป้องปราม เชิญมาพูดคุยให้ความรู้ ตักเตือน บนความโปร่งใส ตรวจสอบได้
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูและบุคลากรต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำแนกตาม อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมภิบาล ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 342 คน และผู้ให้สัมภาษณ์ 5 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ได้แก่ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ t–test (Independent Samples) และ F–test ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการเสริมสร้างประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน รองลงมา คือ ด้านการวางแผนกำหนดตำแหน่ง ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านวินัยและการรักษาวินัย 2) การเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูและบุคลากรต่อการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำแนกตาม อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) แนวทางการบริหารงานบุคคลตามหลักธรรมภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ร้อยเอ็ด ได้แก่ 1) ผู้บริหารควรวางตัวบุคคลตามความถนัดความสามารถ ความพร้อมใจ และดูแลทั้งด้านครอบครัว สุขภาพ ภาระงานตรงตามความสามารถ 2) ผู้บริหารควรให้ความใส่ใจและไว้วางใจในการทำงานชื่นชมยินดีและไม่ก้าวก่ายแทรกแซงการทำงาน 3) ผู้บริหารควรสนับสนุนส่งเสริมในการทำงาน และช่วยแก้ไขปัญหาที่พบในการปฏิบัติหน้าที่ 4) ผู้บริหารควรเปิดโอกาสให้โอกาสบุคลากรในการพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพของบุคคล 5) ผู้บริหารควรให้คำชี้แนะการปฏิบัติตัว ตักเตือนการวางตัวให้อยู่ในระเบียบวินัย 6) ให้คำชี้แนะ ป้องปราม เชิญมาพูดคุยให้ความรู้ ตักเตือน บนความโปร่งใส ตรวจสอบได้
The objectives of the research were 1) to study personnel management based on the good governance of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office Roi Et, 2) to compare personnel management based on the good governance of school administrators classified by age, education and working experiences and, 3) to find out the guidelines for personnel management based on the good governance of school administrators of the said schools. Samples were the teachers and personnel, totally 342 in number and 5 interviews. The instrument for collecting the data was the questionnaire, with its reliability value at 0.98 and quality-verified interview. The data collected were analyzed by the computer program, and the statistical devices composed of Frequency, percentage, mean, standard deviation. The hypothesis was tested with t-test, and One-way ANOVA F-test. The research results were as follows: 1) personnel management based on the good governance of school administrators under The Secondary Educational Service Area Office Roi Et was found, in both overall and individual aspects, to stand at a 'MUCH' level. The leading aspect was the enhancement of operation competency, followed by position planning and disciplinary observance, respectively. 2) The comparison of the personnel management based on the good governance of school administrators in mention classified by age, education and working experiences was found to show the statistically significant difference of 05. 3) The guidelines for personnel management based on the good governance of school administrators as suggested by the responses were 3) The guidelines for personnel management based on the good governance of school administrators as suggested by the responses were (1) Concerning the job assignment, the theory, "Put the right man in the right job." or "Put the right job in the right man." should be brought into practice. (2) The honor and merit system should be implemented for morale boosting. (3) The help and support were needed when the problems arose. (4) The providing and increasing of opportunity for staff development at full scale should be taken as one of necessities. (5) An advice and warning should be given to prevent the disciplinary violation. (6) Dialogue and negotiation should be held up for mutual understanding.