Search results

4 results in 0.05s

... 2564

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการยอมรับนับถือ ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการเข้าสังคม ด้านการประสานงาน ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการมีความคิดริเริ่ม และด้านการโน้มน้าวจิตใจ ตามลำดับ 2) การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ และด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ตามลำดับ 3) ภาวะผู้นำของผู้บริหารส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการประสานงานด้านการมีความคิดริเริ่ม ด้านการเข้าสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.992 (R = 0.992) ซึ่งตัวแปรทั้งสี่ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้ร้อยละ 98.4 (R^2 = 0.984) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 0.052 + 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 และ 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นําของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการยอมรับนับถือ ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการเข้าสังคม ด้านการประสานงาน ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการมีความคิดริเริ่ม และด้านการโน้มน้าวจิตใจ ตามลำดับ 2) การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ และด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ตามลำดับ 3) ภาวะผู้นำของผู้บริหารส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการรู้จักปรับปรุงแก้ไข ด้านการประสานงานด้านการมีความคิดริเริ่ม ด้านการเข้าสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.992 (R = 0.992) ซึ่งตัวแปรทั้งสี่ร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ได้ร้อยละ 98.4 (R^2 = 0.984) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 0.052 + 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984)
The objectives of this research were: 1) to study the Leadership of school administrators under the Pathum Thani primary educational service area office 2, 2) to study the committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2 and, 3) to study the school administrators’ leadership affecting the committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2. A sample was collected from 295 informants from 59 schools including director, the committee of fundamental education and teachers. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple regressions. The results of the research ware as follows: 1) The leadership of school administrators under the Pathum Thani primary educational service area office 2 in overall was at a high level. The ranging by the average from high to low that respect, assistance, socializing, co-ordination, knowing improve, initiatives and mental persuasion respectively. 2) The committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2 in overall was at a high level. The ranging by the average from high to low that participation in evaluation, participation in decision making, participation in benefits and participation in operations respectively. 3) The administrators leadership affecting the committee’s participation in fundamental education under the Pathum Thani primary educational service area office 2 was statistically significant at the 0.01 level. The most significant level was on knowing improve, co-ordination, initiatives, socializing was statistically significant at the 0.01 level and multiple correlation coefficient at 0.992 (R = 0.992) which can explain the variance of the school administrators’ leadership under the Pathum Thani primary educational service area office 2 at 98.4% (R^2 = 0.984). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 0.052 + 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.852 (x2) + 0.139 (x6) + - 0.055 (x1) + 0.852 (x7) (R^2= 0.984)
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารกิจกรรมลูกเสือที่ส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างจำนวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป ด้านบุคลากร และด้านการติดตามประเมินผล ตามลำดับ 2) สุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านสุขภาวะทางกาย ด้านสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ด้านสุขภาวะทางจิต และด้านสุขภาวะทางสังคม ตามลำดับ 3) การบริหารกิจกรรมลูกเสือส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.763 (R = 0.0.763) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารกิจกรรมลูกเสือ ได้ร้อยละ 58.3 (R^2= 0.583) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 2.316 + 0.379 (x3) + 0.126 (x1) (R^2= 0.583) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.59 (x3) + 0.187 (x1) (R^2= 0.583)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี 2) เพื่อศึกษาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารกิจกรรมลูกเสือที่ส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างจำนวน 327 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารกิจกรรมลูกเสือโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป ด้านบุคลากร และด้านการติดตามประเมินผล ตามลำดับ 2) สุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านสุขภาวะทางกาย ด้านสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ด้านสุขภาวะทางจิต และด้านสุขภาวะทางสังคม ตามลำดับ 3) การบริหารกิจกรรมลูกเสือส่งผลต่อการพัฒนาสุขภาวะของผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 จังหวัดปทุมธานี ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 เรียงลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ด้านการบริหารทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.763 (R = 0.0.763) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารกิจกรรมลูกเสือ ได้ร้อยละ 58.3 (R^2= 0.583) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 2.316 + 0.379 (x3) + 0.126 (x1) (R^2= 0.583) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.59 (x3) + 0.187 (x1) (R^2= 0.583)
The objectives of this research were: 1) to study the conditions of administration boy scouts activities in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province, 2) to study the conditions of the students in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province and, 3) to study the administration of boy scout activities in school affecting health for student under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province. The 327 informants’ cases were included as a sample. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and Multiple Linear Regression by Stepwise Regression. The results of the research ware as follows: 1) The administration boy scout activities in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province in overall was at a medium level. The ranging by the average from high to low that supporting and promoting scout activities, general administration, personnel, and monitoring evaluation respectively. 2) the conditions of the students in schools under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani Province in overall was at a high level The ranging by the average from high to low that physical health conditions, Spiritual health conditions, mental health conditions and social health conditions respectively. 3) The administration of boy scout activities in school affecting health for student under the secondary educational service area office 4, Pathum Thani province was statistically significant at the 0.01 level.The most significant level was on supporting and promoting scout activities and general administration was statistically significant at the 0.01 level and multiple correlation coefficient at 0.763 (R = 0.0.763) which can explain the variance of the conditions of administration boy scout activities in schools at 58.3% (R^2= 0.583). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 2.316 + 0.379 (x3) + 0.126 (x1) (R^2= 0.583) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.59 (x3) + 0.187 (x1) (R^2= 0.583)
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ วัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานบริหารงานบุคคล และครูผู้สอนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา ปีพุทธศักราช 2563 จำนวน 168 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า : 1) การบริหารงานเชิงบูรณาการตามหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการ และด้านการอำนวยการเชิงบูรณาการ 2) การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการธำรงรักษา การประเมินผลการปฏิบัติงานบุคคล ด้านการพัฒนาบุคคล ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้งบุคคล และลำดับสุดท้าย ด้านการวางแผนกําลังบุคคล อยู่ในระดับมากตามลำดับ 3) การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา คือ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X1) ด้านการจัดการองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X2) ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X4) และด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X5) โดยสามารถพยากรณ์การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าอำนาจในการพยากรณ์ร่วมกันร้อยละ 66.40 (R2 = 0.664) สามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y' = 0.659+.0.221 (X4) + 0.232 (X1) + 0.217 (X5) + 0.177 (X2) (R2 = 0.664) สมการคะแนนมาตรฐาน Zy′ = 0.267 (X4) + 0.249 (X1) + 0.263 (X5) + 0.186 (X2) (R2 = 0.664)
วิทยานิพนธ์นี้ วัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อศึกษาการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานบริหารงานบุคคล และครูผู้สอนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา ปีพุทธศักราช 2563 จำนวน 168 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า : 1) การบริหารงานเชิงบูรณาการตามหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการจัดองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม ด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการ และด้านการอำนวยการเชิงบูรณาการ 2) การบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านการธำรงรักษา การประเมินผลการปฏิบัติงานบุคคล ด้านการพัฒนาบุคคล ด้านการสรรหาและบรรจุแต่งตั้งบุคคล และลำดับสุดท้าย ด้านการวางแผนกําลังบุคคล อยู่ในระดับมากตามลำดับ 3) การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดนครราชสีมา คือ ด้านการวางแผนเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X1) ด้านการจัดการองค์การเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X2) ด้านการประสานงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X4) และด้านการควบคุมงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรม (X5) โดยสามารถพยากรณ์การบริหารงานเชิงบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมของผู้บริหารได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าอำนาจในการพยากรณ์ร่วมกันร้อยละ 66.40 (R2 = 0.664) สามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y' = 0.659+.0.221 (X4) + 0.232 (X1) + 0.217 (X5) + 0.177 (X2) (R2 = 0.664) สมการคะแนนมาตรฐาน Zy′ = 0.267 (X4) + 0.249 (X1) + 0.263 (X5) + 0.186 (X2) (R2 = 0.664)
The objectives of the study were: 1) to study the integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of Phrapariyti-Dhamma School administrators, department of general education, Nakhon Ratchasima Province, 2) to study the personnel management of Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province and, 3) to study the integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of administrators affecting the personnel management of Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province. A sample was selected from 168 persons in 2020 of administrators, deputy executive, the head of personnel management and, school teachers in Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province. The results of the study were as follows: 1) Integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of Phrapariyti-Dhamma School administrators, department of general education, Nakhon Ratchasima Province in overall was high level. The average from high to low was that Integrated organization management, Integrative coordination, integrated control, integrated planning, and Integrative director. 2) The personnel management of Phrapariyti-Dhamma School administrators, department of general education, Nakhon Ratchasima Province in overall was high level. The average from high to low was that the personnel maintenance, work performance evaluation, personnel development, personnel recruitment and appointment and, personnel planning was high level respective. 3) Integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of administrators affecting the personnel management of Phrapariyti-Dhamma School, department of general education, Nakhon Ratchasima Province namely Integrated planning of Sappurisa-Dhamma (X1), Integrated organization management of Sappurisa-Dhamma (X2), Integrative coordination of Sappurisa-Dhamma (X4) and, Integrated control of Sappurisa-Dhamma (X5) which predicted the Integrative administration according to the Sappurisa-Dhamma principle of administrators was statistically significant at 0.01 level, and the prediction power had together was 66.40% (R2 = 0.664). The prediction equation forms of raw score were as follows: The raw score: Y′ = 0.659+0.232X1 + 0.177X2 + 0.221X4 + 0.217X5 The standard equation: Z′y = 0.249ZX1 + 0.186ZX2 + 0.267ZX4 + 0.263ZX5
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 2) เพื่อศึกษามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียนสังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อมาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 4) เพื่อหาแนวทางการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน โดยใช้ประชากรวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี และ สถานประกอบการจำนวน 133 แห่ง จำนวนประชากร 446 คน เป็นสถานที่เก็บข้อมูล ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ครูนิเทศ ผู้บริหารสถานประกอบการ ครูฝึกในสถานประกอบการและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานและการใช้วิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1.การบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารอยู่ในระดับมาก 2.มาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน อยู่ในระดับมาก 3. ผลศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อมาตรฐานวิชาชีพของนักเรียนนักศึกษา สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สามารถเขียนเป็นรูปสมการวิเคราะห์การถดถอยได้ดังนี้ Xtot = .393+.523 (Y1) +.275 (Y2) +.109 (Y3), Ytot = .380+.688 (X3) +.121 (X2) +.118 (X4) ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี พบว่า 1. สถานศึกษาและสถานประกอบการร่วมกันร่างข้อกำหนด คุณลักษณะ คุณสมบัติ สมรรถนะงาน สมรรถนะวิชาชีพ 2. สถานศึกษาจัดอบรมแนวทางการฝึกอาชีพ แนวทางการแก้ปัญหาอย่งเป็นระบบ และเกณฑ์การวัดและประเมินผลในสภาพจริง 3. สถานศึกษาสนับสนุนการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานให้นักเรียน นักศึกษา โดยเน้นทักษะที่สถานประกอบการต้องการเป็นสำคัญ 4. สถานศึกษาควรจัดให้มีหลักสูตรการเรียนการสอนที่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 2) เพื่อศึกษามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียนสังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 3) เพื่อศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อมาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี 4) เพื่อหาแนวทางการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน โดยใช้ประชากรวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี และ สถานประกอบการจำนวน 133 แห่ง จำนวนประชากร 446 คน เป็นสถานที่เก็บข้อมูล ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ครูนิเทศ ผู้บริหารสถานประกอบการ ครูฝึกในสถานประกอบการและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 210 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐานและการใช้วิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1.การบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารอยู่ในระดับมาก 2.มาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน อยู่ในระดับมาก 3. ผลศึกษาการบริหารงานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อมาตรฐานวิชาชีพของนักเรียนนักศึกษา สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 สามารถเขียนเป็นรูปสมการวิเคราะห์การถดถอยได้ดังนี้ Xtot = .393+.523 (Y1) +.275 (Y2) +.109 (Y3), Ytot = .380+.688 (X3) +.121 (X2) +.118 (X4) ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพของนักเรียน สังกัดวิทยาลัยการอาชีพปราณบุรี พบว่า 1. สถานศึกษาและสถานประกอบการร่วมกันร่างข้อกำหนด คุณลักษณะ คุณสมบัติ สมรรถนะงาน สมรรถนะวิชาชีพ 2. สถานศึกษาจัดอบรมแนวทางการฝึกอาชีพ แนวทางการแก้ปัญหาอย่งเป็นระบบ และเกณฑ์การวัดและประเมินผลในสภาพจริง 3. สถานศึกษาสนับสนุนการพัฒนาทักษะฝีมือแรงงานให้นักเรียน นักศึกษา โดยเน้นทักษะที่สถานประกอบการต้องการเป็นสำคัญ 4. สถานศึกษาควรจัดให้มีหลักสูตรการเรียนการสอนที่ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน
The purposes of this research were: 1) To study the bilateral system of vocational education administration of educational institution administrators Under the Pranburi Vocational College, 2) To study the professional standards of students Under the Pranburi Vocational College, 3) To study the bilateral vocational education administration of educational institute administrators. that affect the professional standards of students Under the Pranburi Vocational College, and 4) To find guidelines for developing students' professional standards The population of Pranburi Vocational College and 133 establishments with a population of 446 were used as data collection sites. Head of the Bilateral Vocational Education System, Informative Teacher, Administrator of the Establishment 210 teachers in the workplace and educational personnel. The research instrument was a questionnaire. and the data collected were analyzed by the computer program, with the basic statistic devices and stepwise multiple regression. The population is 103 schools under the Samut Sakhon Primary Educational Service Area Office. The samples were selected from 86 schools under the Samut Sakhon Primary Educational Service Area Office. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in data analyzing were frequencies (Frequency), percent (Percentage), average (Mean), standard deviation (S.D.) and the correlation coefficient (rxy) of Pearson (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient). The results of this research were as follows: 1. The management of the bilateral vocational education system of the administrators was found to be at a “High” level. 2. The results of the study of professional standards of students was found to be at a “High” level. 3. The results of the study of the vocational administration, the associate system of the school administrators, affected the living standards of the students. with a statistically significant correlation at the 0.01 level. It can be written in the form of the regression analysis equation as follows: Xtot = .393+.523 (Y1) +.275 (Y2) +.109 (Y3), Ytot = .380+.688 (X3) +.121 (X2) +.118 (X4) 4) The results of the study of guidelines for the development of professional standards of students. were as follows : 1. Educational institutions and enterprises jointly draft requirements, characteristics, qualifications, job competencies, professional competences. systematic approach to problem solving and criteria for measuring and evaluating the results in real conditions. 3. Educational institutions support the development of labor skills for students and students by emphasizing the skills that enterprises need. 4. Educational institutions should provide a curriculum that meets their needs. labor market demand