Search results

2 results in 0.02s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อแสวงหาแนวทางพัฒนาสุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมาย คือ พระสงฆ์ 8 รูป เป็นโรคเบาหวาน 2 รูป โรคความดันหิต 2 รูป โรคภูมิแพ้ 2 รูป โรคกระเพราะอาหาร 2 รูป แพทย์แผนปัจจุบัน 2 คน แพทย์แผนไทย 2 คน โดยใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจงจากวัดและสถานพยาบาลในอำเภอแม่ริม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: สุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าเกิดจากภาวะโรคแทรกซ้อนอื่นได้ทั้งที่เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิต โรคภูมิแพ้ และโรคกระเพาะอาหาร โดยมากจะเป็นโรคมากกว่าหนึ่งโรค อย่างเช่น เมื่อตรวจพบเบาหวานก็จะพบ ความดันโลหิต โรคไต โรคเกี่ยวกับตับ ภูมิแพ้ ตามมาด้วยโรคกระเพาะอาหาร ที่สาเหตุอาจไม่แน่ชัด บางคนไม่มีอาการ บางคนมีอาการจุกเสียด ปวดท้องเรื้อรัง คลื่นไส้ อาเจียน มีกรดในกระเพาะมาก มีอาการปวดท้อง ปวดเรื้อรัง จุกเสียดแน่นท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ มีลมในท้อง ร้อนท้อง บางรายปวดท้องรุนแรงอาจถึงช็อกจากแผลในกระเพาะอาหาร หรือลำไส้ทะลุ ผู้ที่ปวดท้องโรคกระเพาะควรได้รับการสืบค้นสาเหตุของโรคตั้งแต่แรก เพราะอาจมีความรุนแรงจนช็อก และเสียชีวิตได้ ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ พบว่ามีปัจจัยหลายๆ ด้านประกอบกัน ได้แก่ บุคคล สังคม พฤติกรรมการดำเนินชีวิตประจำวัน การถ่ายทอดทางพันธุ์กรรม สภาพแวดล้อมภาวะแทรกซ้อนจากโรคอื่น ความเครียด อายุ สิ่งเหล่านี้มีผลต่อสุขภาวะของพระสงฆ์เป็นอย่างมาก แนวทางพัฒนาสุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าการควบคุมอาหาร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวัน ออกกำลังกายอย่างถูกวิธี พักผ่อนให้เพียงพอ ผ่อนคลายความเครียด นั่งสมาธิ ทานยาให้ครบตามจำนวน นำศาสตร์ของแพทย์แผนไทยมาปรับใช้ในการดูแลสุขภาพควบคู่กับแพทย์แผนปัจจุบันดูแลสุขภาวะตนเองตามคำแนะนำของแพทย์ ไปพบแพทย์ตามนัดเสมอ
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อแสวงหาแนวทางพัฒนาสุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมาย คือ พระสงฆ์ 8 รูป เป็นโรคเบาหวาน 2 รูป โรคความดันหิต 2 รูป โรคภูมิแพ้ 2 รูป โรคกระเพราะอาหาร 2 รูป แพทย์แผนปัจจุบัน 2 คน แพทย์แผนไทย 2 คน โดยใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจงจากวัดและสถานพยาบาลในอำเภอแม่ริม เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: สุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าเกิดจากภาวะโรคแทรกซ้อนอื่นได้ทั้งที่เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิต โรคภูมิแพ้ และโรคกระเพาะอาหาร โดยมากจะเป็นโรคมากกว่าหนึ่งโรค อย่างเช่น เมื่อตรวจพบเบาหวานก็จะพบ ความดันโลหิต โรคไต โรคเกี่ยวกับตับ ภูมิแพ้ ตามมาด้วยโรคกระเพาะอาหาร ที่สาเหตุอาจไม่แน่ชัด บางคนไม่มีอาการ บางคนมีอาการจุกเสียด ปวดท้องเรื้อรัง คลื่นไส้ อาเจียน มีกรดในกระเพาะมาก มีอาการปวดท้อง ปวดเรื้อรัง จุกเสียดแน่นท้อง ท้องอืดท้องเฟ้อ มีลมในท้อง ร้อนท้อง บางรายปวดท้องรุนแรงอาจถึงช็อกจากแผลในกระเพาะอาหาร หรือลำไส้ทะลุ ผู้ที่ปวดท้องโรคกระเพาะควรได้รับการสืบค้นสาเหตุของโรคตั้งแต่แรก เพราะอาจมีความรุนแรงจนช็อก และเสียชีวิตได้ ปัจจัยที่ส่งผลต่อสุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ พบว่ามีปัจจัยหลายๆ ด้านประกอบกัน ได้แก่ บุคคล สังคม พฤติกรรมการดำเนินชีวิตประจำวัน การถ่ายทอดทางพันธุ์กรรม สภาพแวดล้อมภาวะแทรกซ้อนจากโรคอื่น ความเครียด อายุ สิ่งเหล่านี้มีผลต่อสุขภาวะของพระสงฆ์เป็นอย่างมาก แนวทางพัฒนาสุขภาวะของพระสงฆ์ อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ พบว่าการควบคุมอาหาร ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใช้ชีวิตประจำวัน ออกกำลังกายอย่างถูกวิธี พักผ่อนให้เพียงพอ ผ่อนคลายความเครียด นั่งสมาธิ ทานยาให้ครบตามจำนวน นำศาสตร์ของแพทย์แผนไทยมาปรับใช้ในการดูแลสุขภาพควบคู่กับแพทย์แผนปัจจุบันดูแลสุขภาวะตนเองตามคำแนะนำของแพทย์ ไปพบแพทย์ตามนัดเสมอ
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study the health of monks in Mae Rim district, Chiang Mai province 2) to study the factors affecting the health of monks in Mae Rim district, Chiang Mai province 3) to seek ways to improve the health of monks in Mae Rim district, Chiang Mai province. The target group consisted of 8 monks; 2 monks with diabetes, 2 monks with blood pressure, 2 monks with allergy and 2 monks with gastritis together with 2 modern physicians and 2 Thai traditional physicians by using specific selection method from temples and hospitals in Mae Rim district. Tools used for data collection was an in-depth interview and the data were analyzed in descriptive manner. The results of research were found that: 1. Regarding the health of monks in Mae Rim district, Chiang Mai province, it was found that monks were infected with other complications including diabetes, blood pressure, allergy and gastritis. Most monks had more than one disease, for example, when diabetes was detected, blood pressure, kidney disease, liver disease, allergy and gastritis would also be found with unclear causes. Some patients had no symptoms, but some had symptoms of colic, chronic abdominal pain, nausea, vomiting, a lot of acid in stomach, abdominal pain, chronic pain, colic and distension in stomach, indigestion, flatulence, stomach burning. Some had so severe stomach pain that they might get shocked from peptic ulcer or leaky gut. Patients with stomachache from gastritis should be diagnosed to find the cause of disease from the beginning as it might be very severe to cause shock and death to the patients. 2. Regarding the factors affecting the health of the monks, it was found that there were many factors including people, society, daily behavior, heredity, environment, complications from other diseases, stress and age. These things had a great impact on the health of monks. 3. Regarding guidelines for improving the health of monks, there should be food control, behavioral change in daily life, proper exercise, adequate rest, stress relaxation, meditation, consumption of recommended amount of medicine, application of Thai traditional medicine in health care in parallel with modern medicine in taking care of one’s own health according to the doctor's advice and regular visit to the doctor by appointment.
หนังสือ