Search results

3 results in 0.03s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบการจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตามสถานภาพและขนาดสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาการจัดระบบสารสนเทศเพื่อบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 456 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณมีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) และทดสอบค่าเอฟ (F-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด คือ ด้านการศึกษาและสำรวจระบบ รองลงมา คือ ด้านการวิเคราะห์ระบบ ด้านการออกแบบระบบ ด้านการนำไปใช้ และด้านที่มีการปฏิบัติต่ำสุด คือ ด้านการดูแลรักษาระบบและตรวจสอบ 2. การเปรียบเทียบการจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตามสถานภาพ โดยภาพรวม ด้านการศึกษาและสำรวจระบบ ด้านการวิเคราะห์ระบบ ด้านการออกแบบระบบ ด้านการนำไปใช้ ด้านการดูแลรักษาและตรวจสอบระบบ ไม่แตกต่างกัน ส่วนการเปรียบเทียบตามขนาดสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะในการพัฒนาการจัดระบบสารสนเทศเพื่อบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ควรพัฒนาระบบสารสนเทศให้ตรงกับความต้องการและมีความทันสมัย ควรการจัดทำระบบสารสนเทศควรทำเป็นรูแบบเอกสารและรูปแบบคอมพิวเตอร์ให้ควบคู่กันในทุกๆ เรื่อง บุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน ควรมีความรู้เบื้องต้นในการใช้ข้อมูลสารสนเทศ และควรมีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการใช้ระบบสารสนเทศ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบการจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตามสถานภาพและขนาดสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาการจัดระบบสารสนเทศเพื่อบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 456 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณมีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.93 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) และทดสอบค่าเอฟ (F-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด คือ ด้านการศึกษาและสำรวจระบบ รองลงมา คือ ด้านการวิเคราะห์ระบบ ด้านการออกแบบระบบ ด้านการนำไปใช้ และด้านที่มีการปฏิบัติต่ำสุด คือ ด้านการดูแลรักษาระบบและตรวจสอบ 2. การเปรียบเทียบการจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตามสถานภาพ โดยภาพรวม ด้านการศึกษาและสำรวจระบบ ด้านการวิเคราะห์ระบบ ด้านการออกแบบระบบ ด้านการนำไปใช้ ด้านการดูแลรักษาและตรวจสอบระบบ ไม่แตกต่างกัน ส่วนการเปรียบเทียบตามขนาดสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะในการพัฒนาการจัดระบบสารสนเทศเพื่อบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ควรพัฒนาระบบสารสนเทศให้ตรงกับความต้องการและมีความทันสมัย ควรการจัดทำระบบสารสนเทศควรทำเป็นรูแบบเอกสารและรูปแบบคอมพิวเตอร์ให้ควบคู่กันในทุกๆ เรื่อง บุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกคน ควรมีความรู้เบื้องต้นในการใช้ข้อมูลสารสนเทศ และควรมีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางการใช้ระบบสารสนเทศ
The thesis served the purposes: 1) to study the systematization of the information for school administration at the schools under the Office of Primary Education Service, Roi Et Area 3, 2) to compare the systemization of the information for school administration at the schools under the preceding office with classification school statuses and sizes, 3) to study suggestions for developing the systemization of the information for school administration at the schools under it. Samples used for this study included school administrators and teaching-assigned teachers, numbering 456 individuals. The research device was the rating scale questionnaire with IOC of every question between 0.67 and 1.00, and the reliability at 0.93. The statistics used for data analyses embraced frequencies, percentages, standard derivations, t-tests and F-tests. Results of research findings: 1. The systematization of the information for school administration at the schools under the office mentioned above has been rated at the high scale in the overall aspect. All aspects in the descending order of arithmetic means are: system study and surveys, system designs, system analyses, system uses, and system maintenances and checks. 2. Comparative results of the systemization of the information for school administration at the schools under the same office as classified by school statuses have not found significant differences in the overall aspect and a single one. Conversely, comparative results based on classification of school sizes have confirmed stark differences with the statistical significance level at .05. 3. Suggestions for developing the systematization of the information for school administration at the schools under the Office of Primary Education Service of Roi Et Area 3 have been recommended. First, school administrators ought to have information systems developed to suffice to users’ requirements. More importantly, information systems have to have state-of-the-art technologies. Secondly, information systems of schools ought to brace for a couple of a paper document and a computer file when dealing with every matter. Finally, all personnel concerned should have basic knowledge on the uses of information data. Accordingly, there should have a training course for all personnel to perceive some approaches toward information systems.