Search results

1 results in 0.02s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักฆราวาสธรรมในการครองเรือนของชาวไทลื้อในเขตปกครองตนเองสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน 2) เพื่อศึกษาประโยชน์ของการประยุกต์ใช้หลักฆราวาสธรรมในการครองเรือนของชาวไทลื้อในเขตปกครองตนเองสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการประยุกต์ใช้หลักฆราวาสธรรมในการครองเรือนของชาวไทลื้อในเขตปกครองตนเองสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่าง (เป้าหมาย) จำนวน 73 คน โดยการเลือกเฉพาะเจาะจง ประกอบด้วยผู้ที่แต่งงานไม่เกิน 2 ปี 8 คู่ ผู้ที่แต่งงานมากกว่า 10 ปี 24 คู่ และผู้ที่หย่าร้าง 8 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า: 1. ชาวไทลื้อในหมู่บ้านเจียงฮ้า ส่วนมากได้ครองเรือนตามหลักฆราวาสธรรม แต่มีบางส่วนในกลุ่มเป้าหมายผู้ที่หย่าร้างไม่ได้นำหลักฆราวาสธรรม 4 ไปประยุกต์ใช้ในการครองเรือน หรือบางคนนำเอาหลักธรรมข้อใดข้อหนึ่งไปประยุกต์ใช้ในการครองเรือน 2. ชาวไทลื้อในหมู่บ้านเจียงฮ้า ส่วนมากส่วนมากได้ประยุกต์ใช้หลักฆราวาสธรรมในการครองเรือน และได้ผลประโยชน์ต่อการครองเรือนอย่างชัดเจน และนำเอาผลประโยชน์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ต่อการดำเนินชีวิต เพื่อเป็นแบบอย่างอันดีแก่บุตรหลาน 3. ชาวไทลื้อในหมู่บ้านเจียงฮ้า ส่วนมากได้ให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการครองเรือนตามประสบการณ์ที่ตนได้พบเจออย่างเจาะจงซึ่ง ซึ่งเป็นข้อเสนอแนะที่สอดคล้องกับหลักฆราวาสธรรม และสามารถเอาไปเป็นแบบเรือน (อย่าง) ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อที่จะทำให้ชีวิตการครองเรือนเกิดพัฒนาดี และสามารถเป็นแบบดีแก่คนข้าง ๆ เพื่อความสงบสุขของการอยู่ร่วมกันในสังคม
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักฆราวาสธรรมในการครองเรือนของชาวไทลื้อในเขตปกครองตนเองสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน 2) เพื่อศึกษาประโยชน์ของการประยุกต์ใช้หลักฆราวาสธรรมในการครองเรือนของชาวไทลื้อในเขตปกครองตนเองสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการประยุกต์ใช้หลักฆราวาสธรรมในการครองเรือนของชาวไทลื้อในเขตปกครองตนเองสิบสองปันนา สาธารณรัฐประชาชนจีน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบเจาะจง กลุ่มตัวอย่าง (เป้าหมาย) จำนวน 73 คน โดยการเลือกเฉพาะเจาะจง ประกอบด้วยผู้ที่แต่งงานไม่เกิน 2 ปี 8 คู่ ผู้ที่แต่งงานมากกว่า 10 ปี 24 คู่ และผู้ที่หย่าร้าง 8 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า: 1. ชาวไทลื้อในหมู่บ้านเจียงฮ้า ส่วนมากได้ครองเรือนตามหลักฆราวาสธรรม แต่มีบางส่วนในกลุ่มเป้าหมายผู้ที่หย่าร้างไม่ได้นำหลักฆราวาสธรรม 4 ไปประยุกต์ใช้ในการครองเรือน หรือบางคนนำเอาหลักธรรมข้อใดข้อหนึ่งไปประยุกต์ใช้ในการครองเรือน 2. ชาวไทลื้อในหมู่บ้านเจียงฮ้า ส่วนมากส่วนมากได้ประยุกต์ใช้หลักฆราวาสธรรมในการครองเรือน และได้ผลประโยชน์ต่อการครองเรือนอย่างชัดเจน และนำเอาผลประโยชน์ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ต่อการดำเนินชีวิต เพื่อเป็นแบบอย่างอันดีแก่บุตรหลาน 3. ชาวไทลื้อในหมู่บ้านเจียงฮ้า ส่วนมากได้ให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการครองเรือนตามประสบการณ์ที่ตนได้พบเจออย่างเจาะจงซึ่ง ซึ่งเป็นข้อเสนอแนะที่สอดคล้องกับหลักฆราวาสธรรม และสามารถเอาไปเป็นแบบเรือน (อย่าง) ในชีวิตประจำวันได้ เพื่อที่จะทำให้ชีวิตการครองเรือนเกิดพัฒนาดี และสามารถเป็นแบบดีแก่คนข้าง ๆ เพื่อความสงบสุขของการอยู่ร่วมกันในสังคม
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study the application of Gharãvãsadhamma in household life of Tai Lue people in Xishuangbanna Autonomous Region, People's Republic of China, 2) to study the benefits of applying Gharãvãsadhamma in household life of Tai Lue people in Xishuangbanna Autonomous Region, The People's Republic of China 3) to study recommendations for applying Gharãvãsadhamma in household life of Tai Lue people in Xishuangbanna Autonomous Region, People's Republic of China. It was a qualitative research by studying relevant documents and purposive in-depth interviews. A target group of 73 people that was selected by purposive sampling consisted of 8 couples who were married for less than 2 years, 24 couples who were married for more than 10 years, and 8 couples who were divorced. Research tools included relevant papers and researches as well as purposive in-depth interview. The results of research were found that: 1. Most of Tai Lue people in Jiang Ha village held their household life according to Gharãvãsadhamma. But, there were some in the target group of divorced people who did not apply 4 principles of Gharãvãsadhamma in their household life, or some people applied one principle in their household life. 2. Most of Tai Lue people in Jiang Ha village applied Gharãvãsadhamma in their household life and they clearly got benefits in their household life. They took benefits from the application in life to become a good example for their children. 3. Most of Tai Lue people in Jiang Ha Village gave their opinions and suggestions on how to have household life on the basis of their specific experiences. The suggestions were consistent with the principles of Gharãvãsadhamma and could be taken as a model in everyday life in order to make better develop the household life. They could be a good model for the people for peace of co-existence in society.