Search results

147 results in 0.08s

หนังสือ

สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 17 พฤศจิกายน 2560
Note: ปีที่ 17 พฤศจิกายน 2560
TOC:
  • บทบรรณาธิการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ กับการใช้ภาษาต่างประเทศของคนไทย
  • "พระทรงเป็นยิ่งกว่ามหากษัตริย์" : การศึกษามโนอุปลักษณ์ และมุมมองของพสกนิกรไทยที่มีต่อในหลวงรัชกาลที่ 9
  • "จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช" : พระมหากษัตริย์ผู้ทรงบทบาทของพระวิษณุ
  • ขายหัวเราะ - มหาสนุกฉบับในหลวงรัชกาลที่ 9 : การ์คูนกับการเทิดพระเกียรติและการแสดงความอาลัย
  • คำนิยมในนวนิยายเรื่องเพชรพระอุมา : การศึกษาโครงสร้างและลักษณะทางสังคมวัฒนธรรม
  • กลวิธีทางภาษาที่หนังสือพิมพ์ไทยใช้ในการนำเสนอกลุ่มชาติพันธุ์โรฺีนจา
  • นามนัยในภาษาไทย
  • ข้อบกพร่องในการเขียนของนักศึกษาวิชาเอกภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 2 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • การประยุกต์ใช้แอปพลิเคชัน WhatsApp สำหรับการเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
  • ยมกในบทประพันธ์ของพาณะ
  • พินิจวาทศิลป์โน้มน้าวใจในมหาชาติคำหลวง
  • คำสอนและกลวิธีการสอนในเรื่องนางนพมาศ
  • เมื่อ "ตำรากับข้าวชาววัง" ออกสู่โลกกว้าง : กำเนิดและพัฒนาการของ "ตำรากับข้าวชาววัง" ในสมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงการตั้งโรงเรียนสตรี
  • บทคร่ำครวญในกวีนิพนธ์ไทยสมัยใหม่
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ฉบับที่ 36 ปีที่ 1 (มกราคม - เมษายน) พ.ศ. 2560
Note: ฉบับที่ 36 ปีที่ 1 (มกราคม - เมษายน) พ.ศ. 2560
TOC:
  • ประสิทธิภาพของการบังคับใช้กฎหมายไทยเพื่อควบคุมการซื้อขายหลักทรัพย์โดยใช้ข้อมูลภายใน
  • นิสิตครูชีววิทยาเเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ด้านต่าง ๆ อย่างไร
  • การจัดรูปแบบยุทธวิธีในการฝึกอบรมผู้พิพากษาสมทบเกี่ยวกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท เพื่อพัฒนาชุมชนท้องถิ่นในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ปัจจัยแห่งความสำเร็จในกระบวนการการมีส่วนร่วมของชุมชนต้นแบบการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาตำบลน้ำเชี่ยว จังหวัดตราด
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม) พ.ศ. 2559
Note: ปีที่ 35 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม) พ.ศ. 2559
TOC:
  • ภาพลักษณ์และการนำเสนอตัวเองของ "ครูบาคติใหม่" ในฐานะ "สินค้าทางความเชื่อ"
  • ตำแหน่งทางศาสนา : การสร้างความหมายใหม่ในสังคมไทใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
  • การสร้าง "ความเป็ฯล้านนา" ในวรรณกรรมของนักเขียนภาคเหนือ
  • บทปริทัศน์หนังสือ ชีวิต อัตลักษณ์ และตัวตนทางการเมืองของคนใต้ใน เกิดมาหนึ่งชาติ ต้องกราบพระธาตุเมืองนคร
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 36 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2560
Note: ปีที่ 36 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม 2560
TOC:
  • กลวิธีทางภาษาและข้อคำนึงที่เป็นเหตุจูงใจที่ผู้พูดภาษาไทยใช้ในการแสดงความไม่พอใจ
  • ความสอดคล้องกันระหว่างรูปแบบการดำเนินชีวิตสีเขียวของผู้บริโภคกับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรด้านสิ่งแวดล้อม
  • อิทธิพลของการรับรู้ความยุติธรรมในองค์กรที่มีต่อทัศนคติในการทำงานและความพึงพอใจในค่าตอบแทนของพนักงานวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในกรุงเทพมหานคร
  • ประสิทธิภาพของกิจกรรมลูกค้าสัมพันธ์ทางสื่อสังคมที่ส่งผลต่อการดำเนินงานองค์กร
  • อิทธิพลของความคิดเห็นเกี่ยวกับสิทธิคุ้มครองผู้บริโภคจากประกันชีวิตที่มีต่อพฤิตกรรมการตัดสินใจซื้อประกันชีวิตของผู้บริโภคไทย
  • หมู่บ้านเสียงปีนแตก : ประวัติศาสตร์ การเคลื่อนไหวทางการเมืองและการสร้างอัตลักษณ์ของท้องถิ่นบ้านนาบัว
  • อิทธิพลของคุณลักษณะทางเพศต่อความก้าวหน้าในอาชีพของผู้จัดการโรงแรม : กรณีศึกษาผู้จัดการโรงแรมเพศหญิงในเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
  • การปรับโครงสร้างการบริหารของบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ในภาวะวิกฤติ
  • ชีวิตทางศาสนา กับสถานภาพและบทบาทของ "ผู้หญิงกำปง" ในหมู่บ้านมลายูมุสลิมชายแดนใต้
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2560
Note: ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม 2560
TOC:
  • การหวนกลับมาของงานชาติพันธุ์วรรณา : "อยู่ที่นั่น" กับคนไร้บ้านในมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์
  • ชาติพันธุ์วรรณว่าด้วยโครงสร้างพื้นฐาน
  • วิธีการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณาในชุมชนออนไลน์
  • การส่งเสริมความเข้าใจของนักศึกษาครูชีววิทยาเกี่ยวกับการใช้แบบจำลองในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ฉบับที่ 35 ปีที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ. 2559)
Note: ฉบับที่ 35 ปีที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม พ.ศ. 2559)
TOC:
  • การสร้างสันติภาพในสังคมพหุลักษณ์ทางศาสนาชาติพันธุ์ : กรณีศึกษามุสลิมในภาคเหนือของประเทศไทย
  • ศาสนาอิสลามกับการต่อรองของชาวมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้
  • นโยบายสาธารณะและระดับการคอรัปชั่นภายใต้ทฤษฎีเกม กรณีศึกษาเชิงเปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2550 (ฉบับแก้ไข) และร่างรัฐธรรมนูญ ปี พ.ศ. 2559
  • เครือข่ายธุรกิจของไทยภายใต้รัฐแห่งการพัฒนา : กลยุทธ์การขยายธุรกิจในเออีซี
  • บทปริทัศน์หนังสือเรื่อง A Critical Study of Thailand's Higher Education Reforms : The Culture of Borrowing
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2561
Note: ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2561
TOC:
  • รูปแบบของปัจจัยความสำเร็จในการบริหารตลาดสมัยใหม่ของผู้ประกอบการใหม่สู่ประเทศไทย 4.0
  • วาทวิพากย์ : ค่านิยม มายาคติ และอุดมการณ์ที่ปรากฎในหนังสือ "วรรคทองในวรรณคดีไทย"
  • การสำรวจวรรณกรรมลักษณะผู้นำ
  • กลยุทธ์ลงทุนจากสัญญาณคำสั่งซื้อขายชนิดระบุราคา
  • อำนาจแพทย์ และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์กับผู้ป่วย
  • รถจักรยานยนต์ : ปฏิบัติการบนท้องถนน
  • ความหมายและแนวทางการศึกษาความปลอดภัยสาธารณะ
  • การพัฒนาสินค้าหัตถกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวบ้านถวายโดยชุมชน
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • 1.การสอนให้นักเรียนคิดเป็น และ แสดงความคิดอย่างสร้างสรรค์
  • 2.เก่ง และ ดี อย่างมีสุข
  • 3.หลานเรื่องรอหน้า ท้าทายการศึกษา
หนังสือ

    ฉบับสองภาษา
Note: ฉบับสองภาษา
TOC:
  • อารัมภพจน์ (Foreword)
  • โพชฌงค์ : พุทธวิธีเสริมสุขภาพ (Bojjhanga : The Buddhist Way of Enhancing Helth)
  • พุทธวิธีเสริมสุขภาพ (The Buddhist Way of Enhancing Helth)
  • องค์แห่งการตรัสรู้และสุขภาพที่สมบูรณ์ (The Enlightenment Factors and Perfrct Health)
  • บูรณาการองค์ประกอบให้เกิดสุขภาพเป็นองค์รวม (Integration of all the Factors to Bring About Health in Entirety)
  • ภาคผนวก : โพชฌังคปริตร กับคำแปล (Addendum : Bojjhangaparitta with Translation)
  • บันทึกท้านเล่ม (Endnotes)
หนังสือ

    ฉบับสองภาษา
Note: ฉบับสองภาษา
TOC:
  • อารัมภพจน์
  • ลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
  • ลักษณะที่ 1 คำสอนเป็นกลาง ปฏิบัติสายกลาง
  • ลักษณะที่ 2 มีหลักการเป็นสากล
  • ลักษณะที่ 3 ถือสำคัญทั้งสาระและรูปแบบ
  • ลักษณะที่ 4 เป็นกรรมวาท กิริยวาท วิริยวาท
  • ลักษณะที่ 5 เป็นวิภัชชวาท
  • ลักษณะที่ 6 มุ่งอิสรภาพ
  • ลักษณะที่ 7 เป็นศาสนาแห่งปัญญา
  • ลักษณะที่ 8 สอนหลักอนัตตา
  • ลักษณะที่ 9 มองตามเหตุปัจจัย
  • ลักษณะที่ 10 เชื่อว่ามนุษย์ประเสริฐ ด้วยการฝึกฝนพัฒนา
  • ลักษณะที่ 11 เป็นศาสนาแห่งการศึกษา
  • ลักษณะที่ 12 ให้ความสำคัญทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก
  • ลักษณะที่ 13 ให้ตื่นตัวด้วยความไม่ประมาท
  • ลักษณะที่ 14 เห็นทุกข์ แต่เป็นสุข หรือ ทุกข์เพื่อเห็น แต่สุขเพื่อเป็น
  • ลักษณะที่ 15 มุ่งประโยชน์สุขเพื่อมวลชน
  • สรุป
  • บันทึกท้ายเล่ม
หนังสือ

    ฉบับสองภาษา
Note: ฉบับสองภาษา
TOC:
  • คำปรารถ
  • ธุดงค์ : ทำอะไร? ที่ไหน? เพื่ออะไร?
  • รู้จักธุดงค์กันนิด
  • พระธุดงค์เป็นอยู่ง่าย แต่ไม่ใช้เรื่องง่ายๆ
  • ฉันครั้งเดียว ยากกว่าฉับมื้อเดียว
  • ออกพรรษา รับกฐิน ลิ้นฝน ออกจรดล ไปรุกขมูล
  • ถือธุดงค์ มีอานิสงส์อะไร?
  • นาฬิกาปลุกดังเกร๊งกร๊าง ตื่นขึ้นมา ตาสว่าง เดินถูกทางกันเสียที
  • ภาคผนวก
  • บันทึกท้ายเล่ม
  • บันทึกของผู้แปล
  • เกี่ยวกับผู้นิพนธ์