Search results

9 results in 0.05s

สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 61 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
Note: ปีที่ 61 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม - สิงหาคม 2561
TOC:
  • พระปรีชาสามารถเรื่องภาษาและหนังสือในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชวินีนาถ ในรัชกาลที่ 9
  • ะ ทรงสืบสานการแสดงโขน
  • การสร้างสรรค์งาพัสตราภรณ์ของกรมศิลปากร : ศิลปะสกุลช่างรัตนโกสินทร์ สมัยรัชกาลที่ ๙
  • "หุ่นหลวง" ประณีตศิลป์จากงานชางหุ่นไทย
  • แผ่นพระพิมพ์พระพุทธรูปดินเผาเมืองโบราณอู่ทอง
  • คลังข้อมูล Digital การแสดงโขน ละครไทย
  • เกร็ดความรู้จากประวัติศาสตร์ : การสถาปนาสมเด็จพระสังหราชในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิรลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
  • ภาพเก่า-เล่าอดีต : สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ ๙ กับงาน สืบฟื้น...คืนศิลป์...แผ่นดินสยาม
  • ศิลปิน-ศิลปากร ไพฑูรย์ เแยเจริญ นักวิชาการละครและดนตรีทรงคุณวุฒิ ผเชี่ยวชาญ ระดับ ๐) คนแรกของกลุ่มดุริยางค์ไทย สำนักการสังคีต กรมศิลปากร
  • ถามมา - ตอบไป : นาฏกรรมการแสดงโขนของไทย ทำไมจึงต้องใช้ศรในการสู้รบกัน
  • ของชิ้นเอกในกรมศิลปากร : ปีกแมลงทับสู่งานประณ๊ตศิลป์ : การจัดสร้างสายรัดพระวิสูตรพระมหาพิชัยราชรถ
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
Note: ปีที่ 65 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2565
TOC:
  • บทละครเรื่องรามเกียรติ์ "สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช" เชื่อมสู่นาฏกรรมการแสดงโขนของกรมศิลปากร
  • ศาสนสถานถ้ำเขากมลรัตน์ เมืองศรีเทพ กรณีตัวอย่างของการทำลายมรดกวัฒนธรรมจากขบวนการค้าโบราณวัตถุกับการรื้อฟื้นคุณค่ามรดกวัฒนธรรมให้กลับมาใหม่
  • วิธีร่างแบบยอดบุษบกหรือมณฑป
  • นิรุกติโบราณคดีว่าด้วยนามเดือน ๑๒ เดือน : มกราคม-กุมภาพันธ์
  • ถอดรหัสโบราณโลหกรรมสมั้ยสุโขทัย : บทวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี ข้อสันนิษฐานเพิ่มเติมเกี่ยวกับสินแร่และกระบวนการผลิตโลหะในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำยมตอนบน
  • เกร็ดความรู้จากประวัติศาสตร์ ดุริยางคศิลป์ในแผ่นดินจอมนรินทร์พระปิ่นเกล้าฯ
  • ภาพเก่า - เล่าอดีต : สะพานพระราม ๖
  • ศิลปิน - ศิปลากร : สมรัตน์ ทองแท้ นาฏศิลปินทักษะพิเศษ : จากวันวารถึงกาลนี้ที่ศิลปากร
  • ถามมา - ตอบไป : กาวที่ได้จากไม้ธนนไชย
  • ของชิ้นเอกในกรมศิลปากร : พุทธานุสติแห่งปวงศิลปิน
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 62 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562
Note: ปีที่ 62 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2562
TOC:
  • กรมศิลปากรกับการสร้างอนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี
  • วัฒนธรรมก่อนประวัติศษสตร์ลุ่มแม่น้ำเมย แอ่งแม่สอด และเทือกเขาถนนธงชัยตอนกลาง
  • วรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ประเภทหนังสือบุด : สารัตถะและการสืบทอด
  • จิตรกรรมฝาผนัง "พระพุทธเจ้าตรัสห้ามธิดามาร" ณ ศาลาแดง วัดพระเชุพนวิมลมังคลาราม
  • การจัดสร้างพระฝางจำลอง ของวัดพระฝาง จังหวัดอุตรดิตถ์
  • ฉลาด เค้ามูลคดี : ทศกัณฐ์คนแรกของโรงเรียนกรมศิลปากร
  • การสมโภชพระราชลัญจกรและตราตำแหน่งครบ ๑๐,๐๐๐ วัน รัชการที่ ๕
  • เกร็ดความรู้จากประวัติศาสตร์ : ๓๓๓ ปี คณะราชฑูตสยาม (โกษาปาน) ไปฝรั่งเศา : และพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔
  • ภาพเก่า - เล่าอดีต บัตรอวยพร
  • ถามมา - ตอบไป พุทธาภิเษก เทวาภิเษก และมังคลาภิเษก
  • ของชิ้นเอกในกรมศิลปากร : งาพระยาเศวตกุญชร
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 61 ฉบับที่ 5 กันยายน - ตุลาคม 2561
Note: ปีที่ 61 ฉบับที่ 5 กันยายน - ตุลาคม 2561
TOC:
  • ลวดลายกูฑุในสถาปัตยกรรมอินเดียและที่ปกราฏในโบราณสถานของไทย
  • เจดีย์ทรงระฆังที่มีรูปแบบเฉพาะของเมืองศรีสัชนาลัยและใกล้เคียงต้นแบบกับศิลปะลังกา
  • พุทธปฏิมาล้านนาในสยาม
  • ASA ARCHIVES ห้องสมุดเอกสารโบราณส่วนบุคคลแห่งกรุงกาฐมาณฑุ
  • การนำโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ของกรมศิลปากรไปไว้ชั่วคราว ณ สถานที่อื่นใด
  • ระบบพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเสมือนจริง
  • พระวิมานไพชยนต์
  • เกร็ดความรู้จากประวัติศาสตร์ คฤหาสน์กูเด็น : มรดกทางวัฒนธรรมแห่งเมืองสตูล
  • ภาพเก่า เล่าอดีต สองยุวกษัตริย์กับพิพิธภัณฑ์ไทย
  • ศิลปิน ศิลปากร นางวิจิตร์ ไชยวิชิต ช่างศิลป์ผู้อนุรักษ์ประณีตศิลป์ไทย
  • ถามมา ตอบไป รถพิพิธัณฑ์สัญจร
  • ของชิ้นเอกในกรมศิลปากร ประติมากรรมสำริดขนาดใหญ่ และเก่าที่สุดในประเทศไทย
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 61 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
Note: ปีที่ 61 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2561
TOC:
  • บันทึกความทรงจำ ณ ประเทศฝรั่งเศษ : การเสด็จยุโรปคร้ังที่ ๒ ของสมเด็นฯกรมพระยาดรงราชานุภาพ
  • ๗ ทศวรรษหอสมุดดำรงราชานุภาพ
  • ภาพเขียนสีคณะราชฑูตพิเศษ
  • จารึกพ่อขุนรามคำแหง : การจำลองอักษรจากหลักศิลา
  • พระสุวรรณเขตพระพุทธรูปสำคัญที่ถูกอัญเชิญไปจากเมืองเพชรบุรี
  • แหล่งโบราณคดีบ้านปราสาทชุมชนในวัฒนธรรมเขมรโบราณ
  • เกร็ดความรู้จากประวัติศาสตร์ สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชนุภาพกับการสาธารณสุขไทย
  • ภาพเก่า - เล่าอดีต พระพุทธรูปในวัดเบญจมบพิตรเมื่อพุทะศักราช ๒๔๙๐
  • ศิลปิน - ศิลปากร ขนิษฐา วงศ์พานิช นักพัฒนางานจดหมายเหตุ
  • ถามมา - ตอบไป แบบเรียนเร็ว เล่ม ๑,๒,๓ ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระบาดำรงราชานุภาพ
  • ของชิ้นเอกในกรมศิลปากร : โต๊ธทรงงานแผนที่ : หนึ่งในเครื่องมือปฏิรูปการปกครองประเทศคร้ังสำคัญของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กับสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 65 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม - สิงหาคม 2565
Note: ปีที่ 65 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม - สิงหาคม 2565
TOC:
  • สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง : พระเกียรติคุณปรากฏไกลแผ่ไพศาล
  • ข้อมูลทางโบราณคดีเขาอังคารและเขาหลุบ จังหวัดบุรีรัมย์
  • งานศิลปกรรมลายกำมะลอ
  • ดาวเร้นดวงที่ฟ้านพีสี : อักษรพระนามสมเด็นพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ามาลินีนภดารา กรมขุนศรีสัชนาลัยสุรกัญญาที่เมืองเชียงใหม่
  • บุพนิมิต ๓๒ ในวรรณกรรมพุทธประวัติ
  • ลวดลายศิลปะเขมรแบบบันทายศรืบนทับหลังปราสาทเขาโล้น จังหวัดสระแก้ว
  • อุทยารกวรมัน ในจารึกปราสาทพระเกษตร (K.237) : การออกพระนามกษัตริย์เขมรโบราณที่ต่างไปจากพระนามจริง
  • เกร็ดความรู้จากประวัติศาสตร์ : เครื่องแบบทหารในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
  • ภาพเก่า-เล่าอดีต : งานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ คร้ังที่ ๒
  • ของชิ้นเอกในกรมศิลปากร : ที่ชาลายสิบสองนักษัตร
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 65 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2565
Note: ปีที่ 65 ฉบับที่ 3 พฤษภาคม - มิถุนายน 2565
TOC:
  • 150 ปี สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรฺหมรังสี พระอริยสงฆ์ผู้ทรงคุณแห่งกรุงรัตนโกสินทร์
  • 95 ปี สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
  • พระอุปคุต : พระอรหันตสาวกผู้พิทักษ์รักษาพระพุทธศาสนา
  • โคมตรา พุทธบูชาแห่งคืนวิสาขปุรณมี
  • นวราชสังคีตรังสรรค์จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
  • พระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว กับการส่งเสริมการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม
  • บ้านจารย์ตำรา : จากนามบ้านตามนิทานปาจิต อรพิม ถึงรองรอยชุมชนโบราณสมัยเขมร ร่วมสมัยเมืองโบราณพิมาย
  • การอนุรักษ์ปฏิสังขรณ์เจีดีย์วัดอ่างศิลา จังหวัดชลบุรี
  • การวิเคราะห์รูปแบบสถาปัตยกรรมรัตนตรัยแห่งวิมายปุระ
  • เกร็ดความรู้จากประวัติศาสตร์ : ประวัติวันแรงงานแห่งชาติของไทย
  • ภาพเก่า - เล่าอดีต : สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกับโรงเรียนผู้กำกับลูกเสือในพระบรมราชูปถัมภ์
  • ถามมา -ตอบไป : ข้าพระ โยมสงฆ์
  • ของชิ้นเอกในกรมศิลปากร : ประติมากรรมพระสุภูติจำลอง จากเมืองนครศรีธรรมราช
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 66 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2566
Note: ปีที่ 66 ฉบับที่ 1 มกราคม - กุมภาพันธ์ 2566
TOC:
  • พระมหากรุณาธิคุณมหาจักรีบรมราชวงศ์ที่มีต่อการประกวดอ่านทำนองเสนาะ
  • ศรีสุพรรณอาราม : ต้นแบบบูรณาการแห่งล้านนา
  • โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ พบในเจดีย์วัดศรีสุพรรณ เชียงใหม่
  • ธรรมาสน์ในจังหวัดลำพูน
  • การศึกษาองค์ประกอบโลหะ พระพุทธรูปศิลปะอู่ทอง
  • "ติสฺสเถรภิรักษมรดกไทย ศิลปากรนฤมิตพิพิธภัณฑนุสรณ" สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ (อ้วน ติสฺโส) พระเถระผู้มีคุณูปการยิ่งต่อกิจการพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
  • แหล่งภาพเขียนสีเขาหัวหมวก จังหวัดนครนายก
  • เกร็ดความรู้จากประวัติศาสตร์และโบราณคดี : กำแพงเมืองฉะเชิงเทรา
  • ศิลปิน - ศิลปากร : นายพนมบุตร จันทรโชติ อธิบดีกรมศิลปากรที่หลากหลายและลุ่มลึก
  • ถามมา-ตอบไป ผมถักเปียมัดคัมภีร์ใบลาน : ภูมิปัญญา ศรัทธา ของสตรีไทยโบราณ
  • ของชิ้นเอกในกรมศิลปากร : บัฏเทพนพเคราะห์
สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง

    ปีที่ 66 ฉบับที่ 2 มีนาคม - เมษายน 2566
Note: ปีที่ 66 ฉบับที่ 2 มีนาคม - เมษายน 2566
TOC:
  • 2 เมษายน 2566 38 ปี วันอนุรักษ์มรดกไทย
  • แหล่งเรือจมเกาะคราม ตำบลสัตหีบ อำเภอสัตหีบ จังหลัดชลบุรี การค้นหาและค้นพบตั้งแต่ พงศ. 2517 ถึง พ.ศ. 2564
  • โรคและการใช้สมุนไพรในตำรานกกระทาคำฉันท์
  • เทคนิคการประดับกระจกโขนเรือพระที่นั้งนารายณทรงสุบรรณ รัชกาลที่ 9
  • ชาวญี่ปุ่นในประเทศไทยช่วงก่อนสงตรามโลกคร้ังที่ 2 หลักฐานทางโบราณคดีที่พบจากชุมชนเลื่อนฤทธิ์
  • เครื่องหมาย ชิหวามูลียะ และเครื่องหมาย อุปัธมานียะ ที่ปรากฏใช้ในจารึกภาษาสันสกฤตที่พบในประเทศไทย
  • เกร็ดความรู้จากประวัติศาสตร์และโบราณคดี : ในหลวงเลิกทาส : การเลิกทาสในดินแดนล้านนา โครงการต่อเนื่องระหว่างรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6
  • ภาพเก่า-เล่าอดีต : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปกรมอากาศยานทหารบก
  • ศิลปิน-ศิลปากร : นาฏศิปินละครพระ : วนิตา กรินชัย
  • ถามมา - ตอบไป : การชุดตรวจทางโบราณคดี อาคารป่าไม้แพร่
  • ของชิ้นเอกในกรมศิลปากร : ผนังบังตาหินด้านทิศใต้ ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร และการอนุรักษ์