Search results

103 results in 0.24s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)บริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)บริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) ศึกษามาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 366 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 และมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านมนุษย์ ด้านความคิดรวบยอด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความรู้ความคิด และด้านเทคนิค ตามลำดับ 2.มาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านกระบวนการบริหาร และการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้านระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล และด้านคุณภาพของผู้เรียน ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความคิดรวบยอด และด้านมนุษย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 72.20 (R2 = 0.722) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 0.869 + 0.282(TB) + 0.248(TC) + 0.173(TE) + 0.124(TD) (R2 = 0.722) สมการคะแนนมาตรฐาน =0.306 (ZTB) + 0.290(ZTC) + 0.212(ZTE) + 0.138 (ZTD) (R2 = 0.722) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านความรู้ความคิด (TA) ไม่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) ศึกษามาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 366 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 และมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านมนุษย์ ด้านความคิดรวบยอด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความรู้ความคิด และด้านเทคนิค ตามลำดับ 2.มาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านกระบวนการบริหาร และการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้านระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล และด้านคุณภาพของผู้เรียน ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความคิดรวบยอด และด้านมนุษย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 72.20 (R2 = 0.722) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 0.869 + 0.282(TB) + 0.248(TC) + 0.173(TE) + 0.124(TD) (R2 = 0.722) สมการคะแนนมาตรฐาน =0.306 (ZTB) + 0.290(ZTC) + 0.212(ZTE) + 0.138 (ZTD) (R2 = 0.722) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านความรู้ความคิด (TA) ไม่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
The objectives of the research were; 1) to study school administrators’ administrative skills under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2, 2) study the educational standards in schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2ม and 3) to study school administrators’ administrative skills affecting the educational standards in schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2. The data of this predictive research were collected from 368 samples consisting of School Director or Deputy School Director Academic heads and teachers under the Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2. The questionnaires used in data collecting consisted of the administrative skills of school administrators with a confidence value at 0.97 and the standard of education within the school with a confidence value at 0.98. The statistic instruments used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis by using the package software. The results of the study found that: 1.The level of administrative skills of school administrators under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2 in 5 aspects was high overall. When considering the average in each aspect, it was also at a high level. When arranging by order, the highest was on Human Skills, followed by Conceptual Skills, Education and teaching Skills, Knowledge, and Technical Skills respectively. 2.The level of educational standards within the schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2 in 4 aspects was high totally and in aspect. When considering the average in each aspect, the highest level was on Administrative Process and Management, followed by Student-centered Teaching and Learning Process, Internal Quality Assurance Systems, and Learners’ Quality respectively. 3.The administrative skills of school administrators affecting the educational standards within the schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2 were technical skills, educational and teaching skills. Conceptual skills, and the human skills with statistical significance at the level of .01, a prediction coefficient or a predictive power of 72.20 percent (R2 = 0.722). The relationships can be written in the form of predictions as follows: Raw score equation = 0.869 + 0.282(TB) + 0.248(TC) + 0.173(TE) + 0.124(TD) (R2 = 0.722) Standard score equation =0.306 (ZTB) + 0.290(ZTC) + 0.212(ZTE) + 0.138 (ZTD) (R2 = 0.722) Among administrative skills of school administrators, Knowledge (TA) does not affect the educational standards within the school. Since it does not have statistical significance, it has not been selected into the equation.

... 2561

หนังสือ

    งานวิจัยเรื่องภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตาม เพศ อายุ และระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม 3) เพื่อรวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 125 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และการทดสอบค่า F – test (One - way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. ผลการเปรียบความคิดเห็นของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านกาลัญญุตา จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่างสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีดังนี้ ปัญหาคือ ผู้บริหารสถานศึกษาไม่รู้จักเหตุผล ใช้ความคิดของตนเองมากเกินไปในการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาขาดการวางแผนในการบริหารสถานศึกษาในด้านต่างๆ และผู้บริหารสถานศึกษาใช้อารมณ์มากเกินไปในการบริหารงาน พูดจาไม่สุภาพ ไม่เหมาะสมกับการเป็นผู้บริหาร มีข้อเสนอแนะคือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรใช้หลักเหตุผลให้ตรงกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้บริหารสถานศึกษาควรวางแผนการบริหารสถานศึกษา โดยคิดวิเคราะห์ผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นจากการบริหารงานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในสถานศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษาควรมีปิยะวาจา มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ในการสนทนาและการบริหารงาน
งานวิจัยเรื่องภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตาม เพศ อายุ และระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม 3) เพื่อรวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 125 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และการทดสอบค่า F – test (One - way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. ผลการเปรียบความคิดเห็นของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านกาลัญญุตา จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่างสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีดังนี้ ปัญหาคือ ผู้บริหารสถานศึกษาไม่รู้จักเหตุผล ใช้ความคิดของตนเองมากเกินไปในการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาขาดการวางแผนในการบริหารสถานศึกษาในด้านต่างๆ และผู้บริหารสถานศึกษาใช้อารมณ์มากเกินไปในการบริหารงาน พูดจาไม่สุภาพ ไม่เหมาะสมกับการเป็นผู้บริหาร มีข้อเสนอแนะคือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรใช้หลักเหตุผลให้ตรงกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้บริหารสถานศึกษาควรวางแผนการบริหารสถานศึกษา โดยคิดวิเคราะห์ผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นจากการบริหารงานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในสถานศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษาควรมีปิยะวาจา มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ในการสนทนาและการบริหารงาน
The objectives of the research were 1) to study the Buddhism-oriented leadership of school administrators of the Muangswang education development group under the Office of Primary Education Service, Roi Et Area 3, 2) to compare the opinions of the teachers and education-related staff members towards the Buddhism-oriented leadership of school administrators of the Muangswang education development group as mentioned, classified by gender, age and education, and 3) to survey the prevalent problems and suggestions proposed by the teachers and education-related staff members in the said schools. The samples were totally 125 in number, consisting of teachers and education-related personnel of the schools in the said area. The device used for data collection was the five-rating scale questionnaire with reliability at the rate of 0.96, and the statistical tools employed for data analysis were frequency, percentage, mean, S.D., t-test (Independent Samples) and f-test (One way ANOVA). In case the significantly statistical difference was found, the LSD method was used to test the difference. The research results were as follows: 1) The Buddhism-oriented leadership of the school administrators of the Muangswang Education Development Group under the Office of Primary Education Service. Roi Et Area 3 were found, on both overall and individual aspects, to stand at the ‘MUCH’ level. 2) The comparison of the respondents’ related opinions, classified by gender, was found to show no statistically significant difference in both overall and individual aspects. The comparison classified by age was found, in both overall and individual dimensions, to show the statistically significant difference at the same rate of .05 except Kalaññutã (Knowledge of time). The comparison classified by education was found, in both overall and individual aspects, to show the statistically significant difference at the same rate of .05. 3) The problems found comprised the administrators’ reliance on their own judgment instead of the reasoning principle, lack of the PDCA theory applied in the administration, and absence of tender manners in both physical and verbal actions. The suggestions proposed by the respondents were the following: (1) The administrators were recommended to bring into practice the principle of reasoning or participatory administration and the theory of both PDCA and SWOT. (2) The respect of other opinions, tender speech and good human relations were suggested to be applied in the administration.

... 2557

หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557

... 2557

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559

... 2559

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559

... 2559

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557

... 2558

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558

... 2558

หนังสือ

ปัจจัย... 2561

หนังสือ

... 2561

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560

... 2561

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561

... 2561

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง 2) พัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อให้สัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 5 คน โรงเรียนระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง จำนวน 96 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างาน 4 ฝ่าย และครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมจำนวน 486 คน และผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรองรูปแบบ เก็บข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอ้างอิง ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) และการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Analytic inductive) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและ ผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยมีสภาพการบริหารจัดการศึกษาด้านเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนใช้แนวทางจากส่วนกลาง ส่วนใหญ่ไม่สอดคล้องกับเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ภาษา และวิถีชีวิตของเด็ก 2) รูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า มี 7 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) บุคลากรของสถานศึกษาและผู้ปกครอง 1.2) การบริหารงานทั่วไป 1.3) การบริหารงานงบประมาณ 1.4) การบริหารงานวิชาการ 1.5) พันธกิจและนโยบายของรัฐ 1.6) การบริหารงานบุคคล และ 1.7) สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมของสถานศึกษา 2) กระบวนการ มี 6 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2.2) การคาดหวังต่อนักเรียนสูง 2.3) การจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่เข้มแข็ง 2.4) การเสริมแรงและจูงใจ 2.5) การใช้หลักธรรมในการบริหารสถานศึกษา (พรหมวิหาร 4) และ 2.6) การสั่งการและควบคุม และ 3) ผลผลิต มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 3.2) ประสิทธิภาพของการบริหารสถานศึกษา และ 3.3) คุณลักษณะและสมรรถนะของผู้เรียน 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบเชิงระบบที่พัฒนาขึ้นมีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ผ่านเกณฑ์ในระดับมากที่สุด ซึ่งถือว่าเป็นอันรับรองรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง 2) พัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อให้สัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 5 คน โรงเรียนระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง จำนวน 96 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างาน 4 ฝ่าย และครูหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมจำนวน 486 คน และผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารสถานศึกษา เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบ จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรองรูปแบบ เก็บข้อมูลระหว่างเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2561 ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2561 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอ้างอิง ได้แก่ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content analysis) และการสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย (Analytic inductive) ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและ ผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยมีสภาพการบริหารจัดการศึกษาด้านเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนการสอนใช้แนวทางจากส่วนกลาง ส่วนใหญ่ไม่สอดคล้องกับเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม ภาษา และวิถีชีวิตของเด็ก 2) รูปแบบการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษาที่มีนักเรียนผู้ลี้ภัยและผู้ขอลี้ภัยในเขตเมือง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) ปัจจัยนำเข้า มี 7 องค์ประกอบย่อย คือ 1.1) บุคลากรของสถานศึกษาและผู้ปกครอง 1.2) การบริหารงานทั่วไป 1.3) การบริหารงานงบประมาณ 1.4) การบริหารงานวิชาการ 1.5) พันธกิจและนโยบายของรัฐ 1.6) การบริหารงานบุคคล และ 1.7) สภาพแวดล้อมและวัฒนธรรมของสถานศึกษา 2) กระบวนการ มี 6 องค์ประกอบย่อย คือ 2.1) การจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรม 2.2) การคาดหวังต่อนักเรียนสูง 2.3) การจัดการหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่เข้มแข็ง 2.4) การเสริมแรงและจูงใจ 2.5) การใช้หลักธรรมในการบริหารสถานศึกษา (พรหมวิหาร 4) และ 2.6) การสั่งการและควบคุม และ 3) ผลผลิต มี 3 องค์ประกอบย่อย คือ 3.1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 3.2) ประสิทธิภาพของการบริหารสถานศึกษา และ 3.3) คุณลักษณะและสมรรถนะของผู้เรียน 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบเชิงระบบที่พัฒนาขึ้นมีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ผ่านเกณฑ์ในระดับมากที่สุด ซึ่งถือว่าเป็นอันรับรองรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ
The objectives of this research were: 1) to study the state of school administration of administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students, 2) to develop an administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students, and 3) to evaluate and certify an administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students. The mixed research methods were used in the study. The quantitative data were collected by questionnaire from 486 samples in 96 schools consisting of school directors/deputy directors, chief of school subdivision and heads of the school department. The qualitative data were collected by in-depth interviews with 5 experts in school administration. The model was evaluated and certified by 17 educational experts. The data were collected from August 2018 to November 2018 and then analyzed by percentage, mean and standard deviation, confirmatory factor analysis (CFA), content analysis and analytic inductive. The results of research were found that: 1) An administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students consists of 3 main components: inputs, process and output. The state of school administration in learning contents and learning activities is obtained from Ministry of Education which is irrelevant to race, belief, culture, language, and way of life of students. 2) An administrational model for school administrators in primary schools having urban refugee and asylum seeker students consists of 3main components: 1) Input, consisting of 1.1) Educational Personnel and students’ parents, 1.2) General administration, 1.3) Budgeting administration, 1.4) Academic administration, 1.5) Mission and State Policy, 1.6) Human Resources administration, and 1.7) School Culture and Environment. 2) Process, consisting of 2.1) Multicultural educational administration, 2.2) High Expectation Teaching, 2.3) Qualified curriculums and Learning, 2.4) Reinforcement and Motivation, 2.5) Educational administration based upon 4 sublime states of mind, and 2.6) Command and Control. 3) Output, consisting of 3.1) Learning achievement, 3.2) Efficiency of School Administration, and 3.3) Desirable Characteristics and Performance of students. 3) The developed system model was evaluated and approved in accuracy, propriety, feasibility, and utility by the experts at the highest average standard level.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และ 3) เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียนโดยมีผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 336 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 0.97 และ 0.96 เก็บข้อมูลในปีการศึกษา 2561 สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการประสานงาน ด้านการประเมินผล และด้านการกำกับ การนิเทศ และการติดตาม ตามลำดับ 2. การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 6 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการส่งเสริมการช่วยเหลือและการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมนักเรียน ด้านการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน ด้านการส่งต่อนักเรียน ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการรายงานผล และด้านการคัดกรองจำแนกนักเรียน ตามลำดับ 3. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 1 ด้านการประเมินผล และ ด้านการกำกับ นิเทศและการติดตาม ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงตามความสำคัญ ได้แก่ ด้านการประเมินผล และ ด้านการกำกับ นิเทศและการติดตาม ตามลำดับ มีค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนาย หรือ อำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 53.30 (R2 = 0.533) สามารถเขียนในรูปของสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้สมการคะแนนดิบ Y ̂= 2.4510+ 0.237 (ด้านการประเมินผล) + 0.221 (ด้านการกำกับนิเทศและการติดตาม) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y=0.396 (ด้านการประเมินผล) + 0.357 (ด้านการกำกับนิเทศและการติดตาม)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และ 3) เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียนโดยมีผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 336 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 0.97 และ 0.96 เก็บข้อมูลในปีการศึกษา 2561 สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการประสานงาน ด้านการประเมินผล และด้านการกำกับ การนิเทศ และการติดตาม ตามลำดับ 2. การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 6 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการส่งเสริมการช่วยเหลือและการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมนักเรียน ด้านการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน ด้านการส่งต่อนักเรียน ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการรายงานผล และด้านการคัดกรองจำแนกนักเรียน ตามลำดับ 3. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 1 ด้านการประเมินผล และ ด้านการกำกับ นิเทศและการติดตาม ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงตามความสำคัญ ได้แก่ ด้านการประเมินผล และ ด้านการกำกับ นิเทศและการติดตาม ตามลำดับ มีค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนาย หรือ อำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 53.30 (R2 = 0.533) สามารถเขียนในรูปของสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้สมการคะแนนดิบ Y ̂= 2.4510+ 0.237 (ด้านการประเมินผล) + 0.221 (ด้านการกำกับนิเทศและการติดตาม) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y=0.396 (ด้านการประเมินผล) + 0.357 (ด้านการกำกับนิเทศและการติดตาม)
The Purposes of the research were: 1) to Study the roles of school administrators under Office of Secondary Educational Service Area 1, 2) to study the operation of student care and support systems in schools under Office of Secondary Educational Service Area 1, and 3) to study the roles of school administrators affecting the operation of student care and support system in schools under Office of Secondary Educational Service Area 1. The way researches the manner forecasts Predictive research Space The Samples Were 56 Schools Under The Secondary Educational Service Area Office 1, The data were collected by questionnaires from 336 respondents consisting The questionnaire is which be valuable 0.97 confidences and 0.96 collect data in 2561 academic statistics years that use for example The data were analyzed by frequency, percentage, mean, Standard Deviation, and, Stepwise multiple regression analysis statistics program. The Research Results Found That: 1. The Role of School Administrators Under The Secondary Educational Service Area Office 1 Was at hight Level Over all and in aspect When considering The Average value in Each aspect is at a high Level in all aspects By Sorting by Average from Highest to lowest, Management Coordination Evaluation and Supervision, Super vision and follow-up. 2. The Operation of Student care System in Schools Under the District office Secondary Education Was at a high level. When Considering the Average value in each aspect is at a high Level in all Aspects By Sorting According to The Average from the highest to the lowest, namely the promotion of help and solving student behavior problems In the Development of Learners For Students In Knowing Individual Students Reporting Results And The Screening of Student Classification. 3. The Role of School Administrators in Educational Institutions under the Office of Educational Service Area Were Evaluation and Supervision, Supervision and Follow-up Aespectively, with Predictive Coefficient or Predictive Power of 53.30 Percent (R 2 = 0.533) can be Written as Regression Analysis form as Follows. Raw score equation Y ̂ = 2.4510 + 0.237 (Evaluation) + 0.221 (Directing the new Territory. And Tracking ) Standard Score Equation Z ̂y = 0.396 (Evaluation) + 0.357 (A bundle of New York's Territory. And Tracking )
หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมือง ร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหาร สถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู รวมทั้งสิ้น 304 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test และ F-test (One-Way ANOVA) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลวิจัยพบว่า ระดับการปฏิบัติของผู้บริหารสถานศึกษา เกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของ ผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน โดยเรียงลำดับจากข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุดไปหาการปฏิบัติต่ำสุด พบว่าด้านมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ด้านศีล (สีลสิกขา) มีระดับการปฏิบัติสูงสุดรองลงมา ได้แก่ ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) และด้านมีระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อมีผลการวิจัยปรากฏดังต่อไปนี้ 1) ด้านศีล (สีลสิกขา) พบว่า ข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุด จำนวน 3 ข้อ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การส่งเสริมสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา 2) ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และข้อระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 3) ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การนิเทศการศึกษา และข้อมี ระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรควรแก้ไขพัฒนาทางปฏิสัมพันธ์ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กรและสถาบันอื่นๆ ด้วยการยึดหลักมอบความรู้ข่าวสารอย่างเท่าเทียมกัน อีกทั้งควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้อันยึดหลักบรรยากาศร่มรื่นสงบ และควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอันยึดหลักตรึกตรองการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับเด็กนักเรียน โดยทั้ง 3
วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมือง ร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหาร สถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู รวมทั้งสิ้น 304 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test และ F-test (One-Way ANOVA) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลวิจัยพบว่า ระดับการปฏิบัติของผู้บริหารสถานศึกษา เกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของ ผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน โดยเรียงลำดับจากข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุดไปหาการปฏิบัติต่ำสุด พบว่าด้านมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ด้านศีล (สีลสิกขา) มีระดับการปฏิบัติสูงสุดรองลงมา ได้แก่ ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) และด้านมีระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อมีผลการวิจัยปรากฏดังต่อไปนี้ 1) ด้านศีล (สีลสิกขา) พบว่า ข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุด จำนวน 3 ข้อ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การส่งเสริมสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา 2) ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และข้อระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 3) ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การนิเทศการศึกษา และข้อมี ระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรควรแก้ไขพัฒนาทางปฏิสัมพันธ์ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กรและสถาบันอื่นๆ ด้วยการยึดหลักมอบความรู้ข่าวสารอย่างเท่าเทียมกัน อีกทั้งควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้อันยึดหลักบรรยากาศร่มรื่นสงบ และควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอันยึดหลักตรึกตรองการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับเด็กนักเรียน โดยทั้ง 3
หลักดังกล่าวควรมีความสอดคล้องกับหลักวิชาการของหลักสูตรขั้นพื้นฐานที่ตั้งมั่นอยู่ในหลักศีลธรรมจริยธรรมอันดีงามของทางพุทธศาสนาและสอดคล้องกับนโยบายแห่งรัฐ
This research served the purposes: 1) to study levels of school administrators’ and teachers’ opinions on academic affairs administrations by virtue of three principles of Sikkha (Threefold Trainings), 2) to compare levels of their opinions on such academic administrations to their different genders, ages and educational levels, 3) To advise on academic administration in accordance with such principles. The target schools in Roi Et province’s Mueang district had been administered by schools administrators under the Office of Primary Education Service, Roi Et Area 1. The sampling groups were school administrators and teachers in the target schools, tallying 304 subjects. The research device was the five-rating scale, each of which possessed IOC between 0.67 and 1.00, and the reliability of the entire version at .96. Statistics used for processing data embodied frequency, means, standard deviations, t-test, F-tests (One-way ANOVA), Analyze data using computer. Results of the research: School administrators’ practical level of their academic administrations at the aforesaid schools has been found at the high scale in the overall aspect and each one, as has each aspect taken into consideration. To rank means of the practical levels of three aspects in descending order, they comprise practices of morality, wisdom and concentration respectively. Suggestions for school administrators’ academic affairs administrations with threefold trainings at aforesaid schools have been offered that that they should: first, deal with problems of developments for interrelationship on promotion and support of academic affairs for individuals, families, agencies and other institutions to render equal services of information; next, cope with developments of learning resource managements based on principles of peaceful ambience; then, solve problems of management developments of innovations and educational technologies with principles of prior thoughts of learning processes appropriate for pupils. With the said three suggestions, they should have to be in line with academic principles of basic curricula on the firm foundation of decent ethics and morality and policies of State’s policies.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561