Search results

103 results in 0.08s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)บริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)บริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) ศึกษามาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 366 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 และมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านมนุษย์ ด้านความคิดรวบยอด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความรู้ความคิด และด้านเทคนิค ตามลำดับ 2.มาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านกระบวนการบริหาร และการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้านระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล และด้านคุณภาพของผู้เรียน ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความคิดรวบยอด และด้านมนุษย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 72.20 (R2 = 0.722) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 0.869 + 0.282(TB) + 0.248(TC) + 0.173(TE) + 0.124(TD) (R2 = 0.722) สมการคะแนนมาตรฐาน =0.306 (ZTB) + 0.290(ZTC) + 0.212(ZTE) + 0.138 (ZTD) (R2 = 0.722) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านความรู้ความคิด (TA) ไม่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) ศึกษามาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 และ 3) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือรองผู้อำนวยการสถานศึกษา หัวหน้างานวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 366 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 และมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 5 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านมนุษย์ ด้านความคิดรวบยอด ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความรู้ความคิด และด้านเทคนิค ตามลำดับ 2.มาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านกระบวนการบริหาร และการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้านระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล และด้านคุณภาพของผู้เรียน ตามลำดับ 3.ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐมเขต 2 คือ ด้านเทคนิค ด้านการศึกษาและการสอน ด้านความคิดรวบยอด และด้านมนุษย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 72.20 (R2 = 0.722) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ = 0.869 + 0.282(TB) + 0.248(TC) + 0.173(TE) + 0.124(TD) (R2 = 0.722) สมการคะแนนมาตรฐาน =0.306 (ZTB) + 0.290(ZTC) + 0.212(ZTE) + 0.138 (ZTD) (R2 = 0.722) สำหรับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านความรู้ความคิด (TA) ไม่ส่งผลต่อมาตรฐานการศึกษาภายในสถานศึกษา เพราะไม่มีนัยสำคัญทางสถิติจึงไม่ถูกคัดเลือกเข้าสมการ
The objectives of the research were; 1) to study school administrators’ administrative skills under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2, 2) study the educational standards in schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2ม and 3) to study school administrators’ administrative skills affecting the educational standards in schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2. The data of this predictive research were collected from 368 samples consisting of School Director or Deputy School Director Academic heads and teachers under the Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area office 2. The questionnaires used in data collecting consisted of the administrative skills of school administrators with a confidence value at 0.97 and the standard of education within the school with a confidence value at 0.98. The statistic instruments used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis by using the package software. The results of the study found that: 1.The level of administrative skills of school administrators under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2 in 5 aspects was high overall. When considering the average in each aspect, it was also at a high level. When arranging by order, the highest was on Human Skills, followed by Conceptual Skills, Education and teaching Skills, Knowledge, and Technical Skills respectively. 2.The level of educational standards within the schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2 in 4 aspects was high totally and in aspect. When considering the average in each aspect, the highest level was on Administrative Process and Management, followed by Student-centered Teaching and Learning Process, Internal Quality Assurance Systems, and Learners’ Quality respectively. 3.The administrative skills of school administrators affecting the educational standards within the schools under Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2 were technical skills, educational and teaching skills. Conceptual skills, and the human skills with statistical significance at the level of .01, a prediction coefficient or a predictive power of 72.20 percent (R2 = 0.722). The relationships can be written in the form of predictions as follows: Raw score equation = 0.869 + 0.282(TB) + 0.248(TC) + 0.173(TE) + 0.124(TD) (R2 = 0.722) Standard score equation =0.306 (ZTB) + 0.290(ZTC) + 0.212(ZTE) + 0.138 (ZTD) (R2 = 0.722) Among administrative skills of school administrators, Knowledge (TA) does not affect the educational standards within the school. Since it does not have statistical significance, it has not been selected into the equation.

... 2561

หนังสือ

    งานวิจัยเรื่องภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตาม เพศ อายุ และระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม 3) เพื่อรวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 125 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และการทดสอบค่า F – test (One - way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. ผลการเปรียบความคิดเห็นของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านกาลัญญุตา จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่างสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีดังนี้ ปัญหาคือ ผู้บริหารสถานศึกษาไม่รู้จักเหตุผล ใช้ความคิดของตนเองมากเกินไปในการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาขาดการวางแผนในการบริหารสถานศึกษาในด้านต่างๆ และผู้บริหารสถานศึกษาใช้อารมณ์มากเกินไปในการบริหารงาน พูดจาไม่สุภาพ ไม่เหมาะสมกับการเป็นผู้บริหาร มีข้อเสนอแนะคือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรใช้หลักเหตุผลให้ตรงกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้บริหารสถานศึกษาควรวางแผนการบริหารสถานศึกษา โดยคิดวิเคราะห์ผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นจากการบริหารงานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในสถานศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษาควรมีปิยะวาจา มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ในการสนทนาและการบริหารงาน
งานวิจัยเรื่องภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตาม เพศ อายุ และระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม 3) เพื่อรวบรวมปัญหาและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษาในกลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 125 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t – test (Independent Samples) และการทดสอบค่า F – test (One - way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2. ผลการเปรียบความคิดเห็นของครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่าง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านกาลัญญุตา จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ปัญหาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษากลุ่มพัฒนาคุณภาพการศึกษาม่วงสว่างสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3 มีดังนี้ ปัญหาคือ ผู้บริหารสถานศึกษาไม่รู้จักเหตุผล ใช้ความคิดของตนเองมากเกินไปในการบริหารสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาขาดการวางแผนในการบริหารสถานศึกษาในด้านต่างๆ และผู้บริหารสถานศึกษาใช้อารมณ์มากเกินไปในการบริหารงาน พูดจาไม่สุภาพ ไม่เหมาะสมกับการเป็นผู้บริหาร มีข้อเสนอแนะคือ ผู้บริหารสถานศึกษาควรใช้หลักเหตุผลให้ตรงกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้บริหารสถานศึกษาควรวางแผนการบริหารสถานศึกษา โดยคิดวิเคราะห์ผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นจากการบริหารงานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในสถานศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษาควรมีปิยะวาจา มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ในการสนทนาและการบริหารงาน
The objectives of the research were 1) to study the Buddhism-oriented leadership of school administrators of the Muangswang education development group under the Office of Primary Education Service, Roi Et Area 3, 2) to compare the opinions of the teachers and education-related staff members towards the Buddhism-oriented leadership of school administrators of the Muangswang education development group as mentioned, classified by gender, age and education, and 3) to survey the prevalent problems and suggestions proposed by the teachers and education-related staff members in the said schools. The samples were totally 125 in number, consisting of teachers and education-related personnel of the schools in the said area. The device used for data collection was the five-rating scale questionnaire with reliability at the rate of 0.96, and the statistical tools employed for data analysis were frequency, percentage, mean, S.D., t-test (Independent Samples) and f-test (One way ANOVA). In case the significantly statistical difference was found, the LSD method was used to test the difference. The research results were as follows: 1) The Buddhism-oriented leadership of the school administrators of the Muangswang Education Development Group under the Office of Primary Education Service. Roi Et Area 3 were found, on both overall and individual aspects, to stand at the ‘MUCH’ level. 2) The comparison of the respondents’ related opinions, classified by gender, was found to show no statistically significant difference in both overall and individual aspects. The comparison classified by age was found, in both overall and individual dimensions, to show the statistically significant difference at the same rate of .05 except Kalaññutã (Knowledge of time). The comparison classified by education was found, in both overall and individual aspects, to show the statistically significant difference at the same rate of .05. 3) The problems found comprised the administrators’ reliance on their own judgment instead of the reasoning principle, lack of the PDCA theory applied in the administration, and absence of tender manners in both physical and verbal actions. The suggestions proposed by the respondents were the following: (1) The administrators were recommended to bring into practice the principle of reasoning or participatory administration and the theory of both PDCA and SWOT. (2) The respect of other opinions, tender speech and good human relations were suggested to be applied in the administration.