Search results

7 results in 0.04s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2554
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพนักงานที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของบริษัทไทยนามพลาสติกส์ จำกัด (มหาชน) 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงานที่มีต่อประสิทธิภาพของระบบความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของบริษัทไทยนามพลาสติกส์ จำกัด (มหาชน) จำแนกตาม เพศ อายุ และประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน และ3) เพื่อเสนอแนวทางการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยของพนักงานบริษัท ไทยนามพลาสติก จำกัด (มหาชน) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานของบริษัทไทยนามพลาสติกส์ จำกัด (มหาชน) จำนวน 233 คนใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Sample Random Sampling)ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) พนักงานมีความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพของระบบความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของบริษัทไทยนามพลาสติกส์ จำกัด (มหาชน)โดยรวม อยู่ในระดับมาก ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการคุ้มครองความปลอดภัย รองลงมา ด้านกฎระเบียบ และค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน 2) พนักงานที่มี เพศ อายุ และประสบการณ์ในการทำงาน ต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของบริษัท ไทยนามพลาสติกส์ จำกัด (มหาชน) โดยรวม และรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) พนักงานบริษัท ไทยนามพลาสติก จำกัด (มหาชน) ได้เสนอแนวทางการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยคือควรติดตั้งเครื่องฟอกอากาศในพื้นที่ทำงานในส่วนที่มีฝุ่นละอองในอากาศมากควรใส่หน้ากากป้องกันฝุ่นควันในโรงงาน และควรดูแลเรื่องกลิ่นของสารเคมีควรปฏิบัติตามกฎระเบียบของบริษัทเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัยอย่างรัดกุม
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพนักงานที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของบริษัทไทยนามพลาสติกส์ จำกัด (มหาชน) 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคิดเห็นของพนักงานที่มีต่อประสิทธิภาพของระบบความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของบริษัทไทยนามพลาสติกส์ จำกัด (มหาชน) จำแนกตาม เพศ อายุ และประสบการณ์ในการทำงานต่างกัน และ3) เพื่อเสนอแนวทางการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยของพนักงานบริษัท ไทยนามพลาสติก จำกัด (มหาชน) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานของบริษัทไทยนามพลาสติกส์ จำกัด (มหาชน) จำนวน 233 คนใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Sample Random Sampling)ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-Way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ เชฟเฟ่ (Scheffé) โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า 1) พนักงานมีความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพของระบบความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของบริษัทไทยนามพลาสติกส์ จำกัด (มหาชน)โดยรวม อยู่ในระดับมาก ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการคุ้มครองความปลอดภัย รองลงมา ด้านกฎระเบียบ และค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน 2) พนักงานที่มี เพศ อายุ และประสบการณ์ในการทำงาน ต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพของระบบความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของบริษัท ไทยนามพลาสติกส์ จำกัด (มหาชน) โดยรวม และรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3) พนักงานบริษัท ไทยนามพลาสติก จำกัด (มหาชน) ได้เสนอแนวทางการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยคือควรติดตั้งเครื่องฟอกอากาศในพื้นที่ทำงานในส่วนที่มีฝุ่นละอองในอากาศมากควรใส่หน้ากากป้องกันฝุ่นควันในโรงงาน และควรดูแลเรื่องกลิ่นของสารเคมีควรปฏิบัติตามกฎระเบียบของบริษัทเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัยอย่างรัดกุม
The objectives of this thematic paper were as follows: 1) To study the opinions of employees on the effectiveness of safety performance, and occupational health of Thai Nam Plastics Public Company Limited; 2) to compare the opinions of employees on the efficiency of the safety system, and occupational health of Thai Nam Plastics Public Company Limited, classified by gender, age and work experience; and 3) to suggest guidelines for the safety of company employees of Thai Nam Plastic Public Company Limited. The used tools in the research were questionnaires. The sample consisted of 233 employees of Thai Nam Plastics Public Company Limited. A Sample Random Sampling was used to collect data. The descriptive statistics were used such as frequency, percentage, average ( ), standard deviation (SD) and inference statistics or reference, such as t-test, one-way variance test, F-test. (One-Way ANOVA). If a significant difference was found, test in the difference of the average value in pairs was used by the Scheffé method and by using data analysis and computer processing. The results of the research were found as follows: 1) Workers of Thainam Plastic Public Company Limited had opinions on the efficiency of the safety system, and occupational health of Thai Nam Plastics Public Company Limited, being overall at a high level. The highest mean was In the aspect of safety protection, followed by the aspect of regulations, and the lowest mean was the aspect of working environment. 2) Workers of Thai Nam Plastic Public Company Limited with different gender, age and work experience had no different opinions about the effectiveness of the safety system. And occupational health of the company Thainam Plastic Public Company Limited, both in total aspects and each aspect. 3) Workers of Thai Nam Plastic Public Company Limited had suggested guidelines for occupational safety and health as follows: there should install air purifiers in the work area in the area where there was a lot of dust in the air; there should wear a dust mask in the factory; and should care about the smell of chemicals; and there should follow the rules of the company on safety and occupational health.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2552
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2553