Search results

1 results in 0.02s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง คือ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 92 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน และครู จำนวน 368 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.6-1.0 มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.33-0.89 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.986 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ จำนวน 15 องค์ประกอบ และ 86 ตัวแปร 2. ผลพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบที่มีค่าน้ำหนักมากที่สุด คือ (1) กระบวนการบริหารจัดการศึกษาเพื่อคุณภาพผู้เรียน (2) การส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน (3) กระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ (4) การควบคุมคุณภาพผู้เรียน มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 2.466, dF = 4, P-value = .651, GFI = .999, AGFI = .973 และ RMSER = .000 แสดงได้ว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 3. ผลการประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินและรับรองรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.62 (X ̅ = 4.62) ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดไว้ คือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง คือ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 92 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน และครู จำนวน 368 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.6-1.0 มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.33-0.89 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.986 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จากการวิเคราะห์ สังเคราะห์แนวคิด ทฤษฎี เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ จำนวน 15 องค์ประกอบ และ 86 ตัวแปร 2. ผลพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณภาพผู้เรียนของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบที่มีค่าน้ำหนักมากที่สุด คือ (1) กระบวนการบริหารจัดการศึกษาเพื่อคุณภาพผู้เรียน (2) การส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน (3) กระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และ (4) การควบคุมคุณภาพผู้เรียน มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 2.466, dF = 4, P-value = .651, GFI = .999, AGFI = .973 และ RMSER = .000 แสดงได้ว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ตามเกณฑ์ที่กำหนด 3. ผลการประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินและรับรองรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.62 (X ̅ = 4.62) ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดไว้ คือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
The purposes of this research were as follows : 1) to study the components of an Educational Management to Reinforce the Quality of Students for School Administrators Under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok, 2) to create an of the An Educational Management Model to Reinforce the Quality of Students for School Administrators Under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok, and 3) to evaluate and affirm the of An Educational Management Model to Reinforce the Quality of Students for School Administrators Under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok. The mixed research methodology was used in the study. The research instruments were semi-structured interviews, questionnaires and confirmation or certification forms through 5-rating scale questionnaires by IOC; 0.6-1.0 discriminatory power equal to 0.33-0.89 with reliability at 0.986, The data were consisting of school directors, vice-directors, and teachers in 92 schools. The analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and confirmatory factor analysis. The results of this research found that: 1. The components of an Educational Management to Reinforce the Quality of Students for School Administrators Under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok, general education department consist of 15 components and 86 variables. 2. The an Educational Management Model to Reinforce the Quality of Students for School Administrators Under the Secondary Educational Service Area Office Bangkok, general education department from confirmatory factor analysis (CFA) indicated that the highest value was on (1) Student Quality Management Process (2) Promote the quality of learners (3) Quality Development of Learners and (4) Control the quality of learners. has a chi-square value = 2.466, DF = 4, P-value = .651, GFI = .999, AGFI = .973, and RMSER = .000. This result indicates that the model is consistent with the empirical data. 3. The evaluation and confirmation of the model from experts in its propriety, accuracy, feasibility, and utility is at 4.62 (X ̅ = 4.62), higher than the set criteria at  = 3.51. That means the model is approved.