Search results

4 results in 0.04s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 2) พัฒนารูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 3 ดาว ที่มีคุณสมบัติเข้ารับการพิจารณายกระดับคุณภาพโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 4 ดาว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจำนวน 135 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างาน ครูผู้รับผิดชอบโครงการ และครูผู้สอน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 540 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง 2)แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .89 3) แบบบันทึกข้อเสนอแนะ และ 4) แบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 10 องค์ประกอบย่อย 2. รูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เป็นรูปแบบที่มีชื่อว่า “MSMM Model” โดยเป็นรูปแบบที่มีโครงสร้างและวิธีการบริหารงานตามขอบข่ายและภารกิจด้านการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรม ตามแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม หลักโลกบาลธรรม และการบริหารโรงเรียน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 10 องค์ประกอบย่อย โดยเรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลัก คือ แนวคิดโรงเรียนคุณธรรม หลักโลกบาลธรรม และการบริหารโรงเรียน 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.67 ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่กำหนดไว้ จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่พัฒนาขึ้น
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 2) พัฒนารูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 3 ดาว ที่มีคุณสมบัติเข้ารับการพิจารณายกระดับคุณภาพโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ระดับ 4 ดาว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจำนวน 135 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้างาน ครูผู้รับผิดชอบโครงการ และครูผู้สอน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 540 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง 2)แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .89 3) แบบบันทึกข้อเสนอแนะ และ 4) แบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัย พบว่า 1. องค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 10 องค์ประกอบย่อย 2. รูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เป็นรูปแบบที่มีชื่อว่า “MSMM Model” โดยเป็นรูปแบบที่มีโครงสร้างและวิธีการบริหารงานตามขอบข่ายและภารกิจด้านการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรม ตามแนวคิดโรงเรียนคุณธรรม หลักโลกบาลธรรม และการบริหารโรงเรียน ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 10 องค์ประกอบย่อย โดยเรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลัก คือ แนวคิดโรงเรียนคุณธรรม หลักโลกบาลธรรม และการบริหารโรงเรียน 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนคุณธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.67 ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่กำหนดไว้ จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่พัฒนาขึ้น
The objectives of this research were: 1) to study components of moral school management for school administrators under the primary educational service area office, 2) to create a model of moral school management for school administrators under the primary educational service area office, and 3) to evaluate and to affirm the moral school management model for school administrators under the primary educational service area office. The mixed research methodology is used in the study. The data were collected from 540 samples consisting of school directors, heads of department, the teachers responsible for the project, and teachers in 135 moral schools with 3- star level. The research instrument consisted of : 1) semi-structured interviews, 2) 5-rating scale questionnaires with reliability at 0.89, 3) recording form for suggestions, and 4) evaluation forms. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and CFA. The results of this research revealed that: 1) The components of moral school management for school administrators under the primary educational service area office consisted of 3 main components and 10 minor components. 2) A model of moral school management for school administrators under the primary educational service area office was known as “MSMM Model.” It was an administrative form and method based on scope and mission of moral school administration concept, Lokapàla-dhamma, and school administration. The moral school administration consisted of 3 main components and 10 minor components. The component weight values in descending order started with Moral School Concepts, followed by Lokapàla-dhamma, and School Administration. 3) The evaluation results of model of moral school management for school administrators under the primary educational service area office in propriety, accuracy, feasibility and utility were at 4.67 level overall that was higher than the evaluation criteria. The model was affirmed by the experts.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบ สร้างรูปแบบและประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยออกแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนสุจริตต้นแบบระดับประถมศึกษา จำนวน 127โรงเรียนโดยมีผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 508 คนเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 3 ชุด ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ .837 และ 3) แบบประเมิน ใช้เก็บข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักและ11 องค์ประกอบย่อย 2) รูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นรูปแบบที่มีชื่อว่า “SPG Model”โดยเป็นรูปแบบเชิงบูรณาการตามแนวคิดมาตรฐานโรงเรียนสุจริต แนวคิดการบริหารงานโรงเรียนแบบ PIE Cycle และหลักสุจริต ซึ่งมีโครงสร้างความเกี่ยวข้องระหว่างองค์ประกอบที่สำคัญในเชิงความสัมพันธ์หรือเหตุผลซึ่งกันและกัน เพื่อช่วยให้เข้าใจข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ในการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 11 องค์ประกอบย่อย โดยเรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลัก คือ มาตรฐานโรงเรียนสุจริต การบริหารโรงเรียนแบบ PIE Cycle และหลักสุจริต 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา ในด้านความถูกต้องความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ได้กำหนด จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบ สร้างรูปแบบและประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยออกแบบการวิจัยเป็นแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนสุจริตต้นแบบระดับประถมศึกษา จำนวน 127โรงเรียนโดยมีผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 508 คนเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 3 ชุด ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ .837 และ 3) แบบประเมิน ใช้เก็บข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลักและ11 องค์ประกอบย่อย 2) รูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นรูปแบบที่มีชื่อว่า “SPG Model”โดยเป็นรูปแบบเชิงบูรณาการตามแนวคิดมาตรฐานโรงเรียนสุจริต แนวคิดการบริหารงานโรงเรียนแบบ PIE Cycle และหลักสุจริต ซึ่งมีโครงสร้างความเกี่ยวข้องระหว่างองค์ประกอบที่สำคัญในเชิงความสัมพันธ์หรือเหตุผลซึ่งกันและกัน เพื่อช่วยให้เข้าใจข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ในการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก และ 11 องค์ประกอบย่อย โดยเรียงลำดับจากค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลัก คือ มาตรฐานโรงเรียนสุจริต การบริหารโรงเรียนแบบ PIE Cycle และหลักสุจริต 3) ผลการประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานโรงเรียนสุจริตของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา ในด้านความถูกต้องความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่ได้กำหนด จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
The objectives of this research were to study components, create a model, and evaluate and affirm an Upright School Management Model for the primary schools under the Office of the Basic Education Commission. The data of this mixed method research were collected from 508 samples in 127 upright schools. The research instruments were 1) structured interview form, 2) questionnaire (with reliability at 0.84), and 3) evaluation form. The data were collected in 2019, and then analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, confirmatory factor analysis: CFA by using statistical package, and content analysis. The results of the research found that: 1) The components of Upright School Management of the primary school administrators under Office of the Basic Education Commission were composed of 3 main components and 11 sub-components. 2) The model of the Upright School Management for the primary school administrators under the Office of the Basic Education Commission was called “SPG Model”. It was the integrative model based on the concept of upright school standard, PIE Cycle School Administration Principles, and Good Conduct Principles. The structure of component relation in upright school administration consisted of 3 main components and 11 minor components. The component weight values in descending order started with Upright School standard, followed by PIE Cycle School Administration, and Good Conduct Principles. 3) The evaluation and affirmation results of the moral school management model for upright school administration of primary school administrators in propriety, accuracy, feasibility and utility were at 4.80 level overall that was higher than the evaluation criteria. The model was approved by the experts.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 109 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่าหลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ 2. เปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ วุฒิการศึกษา หลักความโปร่งใสแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์ ควรมีความโปร่งใสในเรื่องการบริหารงานด้านงบประมาณ การเงิน พัสดุ และสามารถตรวจสอบได้ ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผน และกำหนดนโยบายต่าง ๆ ของโรงเรียน การบริหารงานธุรการ การเงิน งบประมาณ พัสดุ โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน และการใช้งบประมาณต่าง ๆ ของโรงเรียน
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์ จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารตามหลักธรรมภิบาล ของโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาในจังหวัดกาฬสินธุ์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 109 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา (Content Validity) เท่ากับ 0.67-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญ จังหวัดกาฬสินธุ์ โดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความคุ้มค่าหลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ 2. เปรียบเทียบสภาพการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์จำแนกตามเพศ โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ วุฒิการศึกษา หลักความโปร่งใสแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นอกนั้นไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการตามหลักธรรมาภิบาลของโรงเรียนพระปริยัติแผนกสามัญจังหวัดกาฬสินธุ์ ควรมีความโปร่งใสในเรื่องการบริหารงานด้านงบประมาณ การเงิน พัสดุ และสามารถตรวจสอบได้ ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการวางแผน และกำหนดนโยบายต่าง ๆ ของโรงเรียน การบริหารงานธุรการ การเงิน งบประมาณ พัสดุ โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการวางแผน และการใช้งบประมาณต่าง ๆ ของโรงเรียน
The objectives of the research were 1) to study the situation of An Approach of Good Governance- Based Administration for Phrapariyattidhamma Schools, General Education Division in Kalasin Province, 2) to compare the so-said administration, classified by gender, age and education, and 3) to compile the related recommendations as suggested by the respondents. The population consisted of the staff members of those schools, totally 109 in number. The device used to collect the information was the five-rating scale questionnaire with the rate of 0.67-1.00 in terms of content validity and the rate of .93 in terms of reliability. The findings can be summarized as follows: 1) The situation of the good governance-based administration employed by the ecclesiastical high schools under the Education Office of Kalasin Province was, in an overall aspect, found to stand at the ‘MUCH’ level. In an individual aspect, the item that was ranked on top of the scale in terms of mean was the rule of law, followed by morality, transparency, cost-coverage, participation and accountability, respectively. 2) The comparison of the so-said administration classified by gender was, in both overall and individual aspects, found to show no difference, but the comparison by age and education in almost all aspects displayed no difference, except in the aspect of transparence where it showed the statistically significant difference at .05. 3) The related recommendations suggested by the respondents can be described as follows: 1) The administration of budget, finance and premises needs transparence and check & balance strategy. 2) Planning and policy designing are suggested to welcome the staff members’ participation. 3) The administration of all affairs needs participation of all parties concerned.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินรับรองกลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) แบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 119 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน และครู จำนวน 480 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.6-1.0 มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.345-0.851 และมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลศึกษาสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า มีสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสา ใน 4 แนวทาง คือ 1) ด้านส่งเสริมนโยบายพัฒนาจิตอาสา 2) ด้านการเรียนรู้บูรณาการสู่จิตอาสา 3) ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมจิตอาสา และ 4) ด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมสู่จิตอาสา ทุกแนวทางมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2. ผลการพัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า มี 4 กลยุทธ์ 12 กลยุทธ์ย่อย และ 72 กลวิธี 3. ผลการประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 คน พบว่า มีการประเมินและรับรองในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมาก ( = 4.48) จึงสรุปได้ว่าผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินรับรองกลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) แบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 119 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรียน และครู จำนวน 480 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.6-1.0 มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.345-0.851 และมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลศึกษาสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า มีสภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสา ใน 4 แนวทาง คือ 1) ด้านส่งเสริมนโยบายพัฒนาจิตอาสา 2) ด้านการเรียนรู้บูรณาการสู่จิตอาสา 3) ด้านการมีส่วนร่วมในกิจกรรมจิตอาสา และ 4) ด้านการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมสู่จิตอาสา ทุกแนวทางมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2. ผลการพัฒนากลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางคุณธรรมด้านจิตอาสาโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า มี 4 กลยุทธ์ 12 กลยุทธ์ย่อย และ 72 กลวิธี 3. ผลการประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 คน พบว่า มีการประเมินและรับรองในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมาก ( = 4.48) จึงสรุปได้ว่าผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ
The purposes of this research were: 1) to study management conditions that Schools Administration for Strengthen the Morality Ethics of Volunteerism in Schools Under the Secondary Educational Service Area Office in Bangkok Metropolis 2) to develop strategy management model for Strengthen the Morality Ethics of Volunteerism in Schools Under the Secondary Educational Service Area Office in Bangkok Metropolis, and 3)to assess and certify the Strengthen the Morality Ethics of Volunteerism in Schools Under the Secondary Educational Service Area Office in Bangkok Metropolis. The descriptive research and mixed research method was used in the study. from 480 samples of 119 special education schools. The research instruments were semi-structured interviews, questionnaires, and confirmation or certification forms through 5-rating scale questionnaires by IOC; 0.60- 1.00 discriminatory power equal to 0.34-0.85 with confidential level at 0.98.The data were analyzed by descriptive statistics including frequency distribution, percentage, arithmetic mean, standard deviation through statistical computer package. The results of this research revealed that: 1.The study management conditions that schools administration for strengthen the morality ethics of volunteerism in schools under the secondary educational service area office in Bangkok Metropolis. The average is at a high level. There were 4 strengthen for developing students’ public mind include; 1) Strategy to promote volunteerism development policy, 2) Integrated learning strategy, 3) Strategy for participation in volunteer activities and 4) Moral promotion strategy ethics for volunteering. 2. The develop strategy management model for strengthen the morality ethics of volunteerism in schools under the secondary educational service area office in Bangkok Metropolis include; of 4 strategy, 12 sub strategy and 72 techniques. 3. The results of assessment and approval of the model in terms of accuracy, suitability, possibility and benefits from 17 experts were at a high level ( = 4.48). It could be concluded that the model was above the specified criteria and approved.