Search results

2 results in 0.03s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรมของผู้บริหารในโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานบุคคลในโรงเรียน และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรมของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองปากพนัง อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ปีการศึกษา 2564 จำนวน 113 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ลักษณะแบบประเมินค่า (rating scale) และวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation) ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า: 1) ระดับการประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรมของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองปากพนัง อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 7 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านที่ 5 ให้ความเคารพต่อเพศสตรี รองลงมาคือ ด้านที่ 4 ความเคารพ นับถือผู้บังคับบัญชา และด้านที่ 1 หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ระดับการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองปากพนัง อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 5 ด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่ามีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านที่ 4 การประเมินผลการปฏิบัติงาน รองลงมาคือ ด้านที่ 5 การพัฒนาบุคลากร และด้านที่ 2 การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรมของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในโรงเรียนตามความคิดเห็นของครูสังกัดเทศบาลเมืองปากพนัง อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ในระดับสูงมาก (r=.853**) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรมของผู้บริหารในโรงเรียน 2) เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานบุคคลในโรงเรียน และ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรมของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูในโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองปากพนัง อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ปีการศึกษา 2564 จำนวน 113 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ลักษณะแบบประเมินค่า (rating scale) และวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation) ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า: 1) ระดับการประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรมของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองปากพนัง อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 7 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านที่ 5 ให้ความเคารพต่อเพศสตรี รองลงมาคือ ด้านที่ 4 ความเคารพ นับถือผู้บังคับบัญชา และด้านที่ 1 หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ระดับการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองปากพนัง อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 5 ด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่ามีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านที่ 4 การประเมินผลการปฏิบัติงาน รองลงมาคือ ด้านที่ 5 การพัฒนาบุคลากร และด้านที่ 2 การสรรหาและบรรจุแต่งตั้ง มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการประยุกต์ใช้หลักอปริหานิยธรรมของผู้บริหารกับการบริหารงานบุคคลในโรงเรียนตามความคิดเห็นของครูสังกัดเทศบาลเมืองปากพนัง อำเภอปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ในระดับสูงมาก (r=.853**) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
The objectives of this thesis were as follows 1)to study the application Aparihaniya Dhamma of school administrators. 2) to study the personal administration of school administrators. and 3)to study the correlation with the application Aparihaniya Dhamma of school administrators on personal administration. The simples persons were teachers under Muang Pakphanang municipality, Pakphanang district Nakhonsithammarat province academic year 2021, the samples were about 113 persons, the instrument for data collection was questionnaire closed ended questions five rating sc, data analysis by package computer program, the statistics were applied as follow ; Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, Rating scale and Pearson’s Correlation Coefficients. The results of research were found that: 1) The application Aparihaniya Dhamma of school administrators under Muang Pakphanang municipality, Pakphanang district Nakhonsithammarat province by overview was the most level for all aspects when considered in each aspect found that the aspect of respect on women was the highest mean and follow up the aspect of respect directors and the aspect of holding regular and frequent meeting was the lowest mean. 2)The personal administration of school administrators under Muang Pakphanang municipality, Pakphanang district Nakhonsithammarat province by overview was at more level for all aspects when considered in each found that the aspect of conducting performance management was the highest mean and follow up the aspect of human resource development and the aspect of recruitment and appointment was the lowest mean. 3)The correlation with the application Aparihaniya Dhamma of school administrators on personal administration according to opinions of teachers under Muang Pakphanang municipality, Pakphanang district Nakhonsithammarat province was found to be as much high as r =.853** and maintained the statistical significance of .01