Search results

7 results in 0.03s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ภาคนิพนธ์(ศศม.) มหาวิทยาลัยเกริก, 2543
ฉบับอัดสำเนา, ภาคนิพนธ์(ศศม.) มหาวิทยาลัยเกริก, 2543
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ปร.ด)--มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552
ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ปร.ด)--มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(พธ.ม)--มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(พธ.ม)--มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(สศ.ม.)--มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2544
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(สศ.ม.)--มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2544
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ปริญญานิพนธ์(ศษ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา,2539
Note: ฉบับอัดสำเนา,ปริญญานิพนธ์(ศษ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา,2539
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(น.ม.)--มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2546
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(น.ม.)--มหาวิทยาลัยรามคำแหง,2546
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ 2) เพื่อศึกษาการบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรี 3) เพื่อบูรณาการการบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรีด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เรื่อง “การบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรีด้วยกระบวนทัศน์ใหม่”ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นหลัก (Review Literature) ผู้วิจัยมีการเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 13 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์สังเคราะห์แล้วนำเสนอในเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า : 1) ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้วยกระบวนทัศนน์ใหม่นั้นมีหลากหลายทฤษฏี และมีหลักการที่คล้ายกัน และมีทิศทางเดียวกันคือให้งานบรรลุวัตถุประสงค์อย่างสูงสุด และการที่ผู้บริหารองค์กรต่าง ๆ จะนำทฤษฎีเหล่านั้นมาใช้ จะต้องศึกษาอย่างจริงจังถึงความเหมาะสม และต้องคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดที่องค์กรจะได้รับ ตลอดจนวิเคราะห์ถึงปัจจัยต่าง ๆ ทั้งทางด้านวัฒนธรรมองค์กร และทรัพยากรที่มีอยู่ แล้วนำมาปรับประยุกต์ใช้จนเกิดเป็นระบบการบริหารที่ดีมีคุณภาพ ก็จะสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่องค์กรนั้นได้ 2) การบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรีให้มีความเจริญยั่งยืนมั่นคง และมีความเรียบร้อยดีงามต่อไป จำเป็นต้องมียุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการวัดที่ดี ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์ที่สำคัญ คือ การบริหารจัดการตามกรอบการพัฒนาทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ การปกครอง การศาสนศึกษา การเผยแผ่ การสาธารณูปการ การศึกษาสงเคราะห์ และการสาธารณสงเคราะห์ 3) การบูรณาการบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรีด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ทั้ง 6 ด้าน ดังนี้ ด้านการปกครอง เป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ ความสามารถ และเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยจริยาวัตรข้อปฏิบัติ เป็นที่ยอมรับของคณะสงฆ์และสังคมโดยรวม ด้านศาสนศึกษา มุ่งศึกษาตามหลักธรรม 3 ประการ คือ 1) สีลสิกขา 2) จิตตสิกขา 3) ปัญญาสิกขา ด้านการศึกษาสงเคราะห์ จัดการศึกษาให้แก่ ประชาชน การตั้งทุนสงเคราะห์นักเรียน ด้านการเผยแผ่ จัดให้มีการแสดงธรรมในวันธัมมัสสวนะและ สถานที่ต่างๆ ด้านการสาธารณูปการ บำรุงรักษาวัดและศาสนสมบัติของวัดให้เป็นไปด้วยดี ด้านการสาธารณสงเคราะห์ การสงเคราะห์ภิกษุสงฆ์ สามเณร และให้วัดเป็นสถานที่ประกอบพิธีการต่าง ๆ ทั้ง ราชการและเอกชน 4) องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรีด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ ได้แก่ “GBS MODEL” ดังนี้ 1. G = Growth (เจริญ) หมายถึง ความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาที่แผ่กว้างออกไปอย่างไม่สิ้นสุด พร้อมกับความสุขสงบของโลก 2. B = Benefit (ประโยชน์) หมายถึง การบริหารจัดการวัดงานทั้ง 6 มีประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา มีประโยชน์ต่อประเทศชาติ มีประโยชน์ต่อประชาชน มีประโยชน์ต่อสังคมมีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ อย่างแท้จริง 3. S = Stable (มั่นคง) หมายถึง ความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนาที่ฝังรากลึกลงในจิตใจของมวลมนุษยชาติ ดื่มด่ำกับรสพระธรรมคำสั่งสอนสร้างความสุขสงบร่มเย็นให้กับประชาชน
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ 2) เพื่อศึกษาการบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรี 3) เพื่อบูรณาการการบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรีด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้ใหม่เรื่อง “การบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรีด้วยกระบวนทัศน์ใหม่”ดุษฎีนิพนธ์นี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเป็นหลัก (Review Literature) ผู้วิจัยมีการเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 13 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์สังเคราะห์แล้วนำเสนอในเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า : 1) ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้วยกระบวนทัศนน์ใหม่นั้นมีหลากหลายทฤษฏี และมีหลักการที่คล้ายกัน และมีทิศทางเดียวกันคือให้งานบรรลุวัตถุประสงค์อย่างสูงสุด และการที่ผู้บริหารองค์กรต่าง ๆ จะนำทฤษฎีเหล่านั้นมาใช้ จะต้องศึกษาอย่างจริงจังถึงความเหมาะสม และต้องคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดที่องค์กรจะได้รับ ตลอดจนวิเคราะห์ถึงปัจจัยต่าง ๆ ทั้งทางด้านวัฒนธรรมองค์กร และทรัพยากรที่มีอยู่ แล้วนำมาปรับประยุกต์ใช้จนเกิดเป็นระบบการบริหารที่ดีมีคุณภาพ ก็จะสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่องค์กรนั้นได้ 2) การบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรีให้มีความเจริญยั่งยืนมั่นคง และมีความเรียบร้อยดีงามต่อไป จำเป็นต้องมียุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการวัดที่ดี ทั้งนี้ ยุทธศาสตร์ที่สำคัญ คือ การบริหารจัดการตามกรอบการพัฒนาทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ การปกครอง การศาสนศึกษา การเผยแผ่ การสาธารณูปการ การศึกษาสงเคราะห์ และการสาธารณสงเคราะห์ 3) การบูรณาการบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรีด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ทั้ง 6 ด้าน ดังนี้ ด้านการปกครอง เป็นผู้ที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ ความสามารถ และเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยจริยาวัตรข้อปฏิบัติ เป็นที่ยอมรับของคณะสงฆ์และสังคมโดยรวม ด้านศาสนศึกษา มุ่งศึกษาตามหลักธรรม 3 ประการ คือ 1) สีลสิกขา 2) จิตตสิกขา 3) ปัญญาสิกขา ด้านการศึกษาสงเคราะห์ จัดการศึกษาให้แก่ ประชาชน การตั้งทุนสงเคราะห์นักเรียน ด้านการเผยแผ่ จัดให้มีการแสดงธรรมในวันธัมมัสสวนะและ สถานที่ต่างๆ ด้านการสาธารณูปการ บำรุงรักษาวัดและศาสนสมบัติของวัดให้เป็นไปด้วยดี ด้านการสาธารณสงเคราะห์ การสงเคราะห์ภิกษุสงฆ์ สามเณร และให้วัดเป็นสถานที่ประกอบพิธีการต่าง ๆ ทั้ง ราชการและเอกชน 4) องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการบริหารวัดในจังหวัดนนทบุรีด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ ได้แก่ “GBS MODEL” ดังนี้ 1. G = Growth (เจริญ) หมายถึง ความรุ่งเรืองของพระพุทธศาสนาที่แผ่กว้างออกไปอย่างไม่สิ้นสุด พร้อมกับความสุขสงบของโลก 2. B = Benefit (ประโยชน์) หมายถึง การบริหารจัดการวัดงานทั้ง 6 มีประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา มีประโยชน์ต่อประเทศชาติ มีประโยชน์ต่อประชาชน มีประโยชน์ต่อสังคมมีประโยชน์ต่อเศรษฐกิจ อย่างแท้จริง 3. S = Stable (มั่นคง) หมายถึง ความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนาที่ฝังรากลึกลงในจิตใจของมวลมนุษยชาติ ดื่มด่ำกับรสพระธรรมคำสั่งสอนสร้างความสุขสงบร่มเย็นให้กับประชาชน
The objectives of this dissertation were as follow: 1) to study the new paradigm administration, 2) to study the temple administration in Nonthaburi province, 3) to integrate the temple administration in Nonthaburi province with a new paradigm administration, and 4) to propose a guideline and body of new knowledge on “The temple administration in Nonthaburi province with a new paradigm administration”. The data of this qualitative research were collected from the Tipitaka, Commentaries, related texts, documents, and in-depth interviews with 13 experts. The data were analyzed, synthesized and then presented in the descriptive method. The findings of the research were as follows : 1) There are theories of new paradigm administration and their main principles and directions are also quite similar, that is to achieve the objectives successfully. The theories can be implemented under consideration in suitability and advantage of the organization. The factors of organizational culture and available resources should be brought into analysis and application in order to obtain a good management system and a progress of the organization. 2) The temple administration in Nonthaburi province for sustainable growth, stability and good order is necessary to have a good management strategy. An important strategy is management according to the development framework in 6 areas; administration, religious education, propagation, public assistance, educational welfare and public welfare. 3) The integration of temple administration in Nonthaburi province with the new paradigm in 6 areas is that; in administration, the administrators should have vision, knowledge, capability, and be well-equipped with acceptable practice. The religious education should be focused on the three principles; moral training, mental training and wisdom training. The educational assistance should cover arranging education for people and providing scholarships to students. In propagation, giving a sermon on Buddhist holiday and other occasions should be arranged. In public assistance, the temple and religious treasures should be maintained and conserved as well. In public welfare, the welfare should be provided to monks and novices and the temple compound should be used for ceremonies of people and government sector. 4) The body of new knowledge relating to the administration of the temples in Nonthaburi province with the new paradigm can be concluded into “GBS MODEL”. G is for Growth of Buddhism, B for Benefit of the temple administration to Buddhism, and S for Stability of Buddhism.