Search results

264 results in 0.06s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2552
ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2552
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง 2) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3-10 จำนวน 201 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 676 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 17 องค์ประกอบ 115 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า มี 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การดำเนินงาน 2) กระบวนการบริหารงานวิชาการ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การมีส่วนร่วมการศึกษา และ 5) ควบคุมคุณภาพการศึกษา และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบหลักควบคุมคุณภาพการศึกษา มีค่ามากที่สุด รองลงมา คือ กระบวนการบริหารงานวิชาการ กิจกรรมการเรียนรู้ การดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการศึกษา ตามลำดับ และรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992 และ RMSER = .000 แสดงว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 (X ̅ = 4.42) ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดคือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงถือว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง 2) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3-10 จำนวน 201 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 676 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 17 องค์ประกอบ 115 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า มี 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การดำเนินงาน 2) กระบวนการบริหารงานวิชาการ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การมีส่วนร่วมการศึกษา และ 5) ควบคุมคุณภาพการศึกษา และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบหลักควบคุมคุณภาพการศึกษา มีค่ามากที่สุด รองลงมา คือ กระบวนการบริหารงานวิชาการ กิจกรรมการเรียนรู้ การดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการศึกษา ตามลำดับ และรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992 และ RMSER = .000 แสดงว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 (X ̅ = 4.42) ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดคือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงถือว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
The purposes of this research were as follows : 1) to study the components of the academic administration in secondary schools in the central region of the Office of Basic Education Commission, 2) to create an academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission, and 3) to evaluate and affirm the academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected by questionnaires with reliability at 0.98, structural interviews and checklist forms from 676 samples consisting of school directors, vice academic directors, heads of academic department and teachers in 201 secondary schools under Office of the Basic Education Commission area 3-10. The data were collected from September 2018 to February 2019 and then analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, exploratory factor analysis, and confirmatory factor analysis. The results of this research found that : 1. The components of the academic administration of the secondary schools in the central region of the Office of Basic Education Commission consist of 17 components and 115 variables. 2. The academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission from exploratory factor analysis (EFA) has 5 main components; 1) Operation, 2) Academic administration process, 3) Learning activities, 4) Educational participation, and 5) Educational quality control. The results of confirmatory factor analysis (CFA) indicated that the highest value was on Educational quality control, followed by Learning activities, Operation, and Educational participation respectively. The model of academic administration for secondary school administrators has a chi-square value = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992, and RMSER - .000. This result indicates that the model is consistent with the empirical data. 3. The evaluation and confirmation of the model from experts in its propriety, accuracy, feasibility, and utility is at  = 4.42, higher than the set criteria at  = 3.51. That means the model is approved.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559