Search results

264 results in 0.05s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 2) พัฒนารูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 3) นำเสนอรูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 4) สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) ประชากรคือพยาบาลคลินิกฯ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย ชุดความรู้เรื่องพรหมวิหาร 4 และแบบสอบถามพฤติกรรมการใช้พรหมวิหาร 4 ของพยาบาลคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลคลินิกฯ ทุกคนแสดงพฤติกรรมการใช้ความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์การพยาบาลงตามมาตรฐานวิชาชีพ พบพฤติกรรมที่สื่อให้รับรู้ได้ถึงความมีเมตตา กรุณา และอุเบกขาแต่ไม่พบพฤติกรรมที่สื่อถึงมุทิตา โดยสรุปภาพรวมไม่พบพฤติกรรมการใช้หลักธรรม พรหมวิหาร 4 2. พัฒนารูปแบบฯ โดยบูรณาการความรู้จากหลักพุทธธรรม พรหมวิหาร 4 ทฤษฎีทางการพยาบาลเท็นแคร์ริ่ง (Ten Caring) ของ ดร.จีน วัตสัน 3. ได้รูปแบบ คือ KEsPA เป็นการใช้พรหมวิหาร 4 ร่วมกับทฤษฎีเท็นแคร์ริ่งในการดูแลผู้ป่วย พบว่าพยาบาลมีพฤติกรรมเพิ่มขึ้นทั้งในภาพรวมและรายด้านคือ ภาพรวมเพิ่มขึ้นจาก 4.14  0.49 เป็น 4.22  0.48 โดยด้านที่เพิ่มมากที่สุดคือ ด้านเมตตาเพิ่มจาก 4.09  0.48 เป็น 4.22  0.40 สอดคล้องกับการสนทนากลุ่มแบบไม่มีโครงสร้างในผู้ป่วยซึ่งได้แสดงความคิดเห็นว่า พยาบาลมีลักษณะพฤติกรรมสื่อให้รับรู้ได้ถึงความเห็นอกเห็นใจ และให้กำลังใจผู้ป่วยบ่อยครั้งขึ้น 4. องค์ความรู้ที่ได้คือรูปแบบ KEsPA Model การดูแลผู้ป่วยทางใจของพยาบาลคลินิกส่งผลต่อพฤติกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคทางอายุรกรรมเรื้อรังที่ปฏิบัติดีขึ้นสอดคล้องกับแผนการรักษาทำให้สามารถประคับประคองผลการตรวจทางร่างกายได้ดีขึ้น คำสำคัญพรหมวิหาร 4 พยาบาลวิชาชีพ ผู้ป่วยทางอายุรกรรมเรื้อรัง
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 2) พัฒนารูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 3) นำเสนอรูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง 4) สร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบการใช้หลักพุทธธรรมการดูแลผู้ป่วยของพยาบาลในคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi Experimental Research) ประชากรคือพยาบาลคลินิกฯ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย ชุดความรู้เรื่องพรหมวิหาร 4 และแบบสอบถามพฤติกรรมการใช้พรหมวิหาร 4 ของพยาบาลคลินิกโรคทางอายุรกรรมเรื้อรัง ผลการวิจัยพบว่า พยาบาลคลินิกฯ ทุกคนแสดงพฤติกรรมการใช้ความรู้ความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์การพยาบาลงตามมาตรฐานวิชาชีพ พบพฤติกรรมที่สื่อให้รับรู้ได้ถึงความมีเมตตา กรุณา และอุเบกขาแต่ไม่พบพฤติกรรมที่สื่อถึงมุทิตา โดยสรุปภาพรวมไม่พบพฤติกรรมการใช้หลักธรรม พรหมวิหาร 4 2. พัฒนารูปแบบฯ โดยบูรณาการความรู้จากหลักพุทธธรรม พรหมวิหาร 4 ทฤษฎีทางการพยาบาลเท็นแคร์ริ่ง (Ten Caring) ของ ดร.จีน วัตสัน 3. ได้รูปแบบ คือ KEsPA เป็นการใช้พรหมวิหาร 4 ร่วมกับทฤษฎีเท็นแคร์ริ่งในการดูแลผู้ป่วย พบว่าพยาบาลมีพฤติกรรมเพิ่มขึ้นทั้งในภาพรวมและรายด้านคือ ภาพรวมเพิ่มขึ้นจาก 4.14  0.49 เป็น 4.22  0.48 โดยด้านที่เพิ่มมากที่สุดคือ ด้านเมตตาเพิ่มจาก 4.09  0.48 เป็น 4.22  0.40 สอดคล้องกับการสนทนากลุ่มแบบไม่มีโครงสร้างในผู้ป่วยซึ่งได้แสดงความคิดเห็นว่า พยาบาลมีลักษณะพฤติกรรมสื่อให้รับรู้ได้ถึงความเห็นอกเห็นใจ และให้กำลังใจผู้ป่วยบ่อยครั้งขึ้น 4. องค์ความรู้ที่ได้คือรูปแบบ KEsPA Model การดูแลผู้ป่วยทางใจของพยาบาลคลินิกส่งผลต่อพฤติกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคทางอายุรกรรมเรื้อรังที่ปฏิบัติดีขึ้นสอดคล้องกับแผนการรักษาทำให้สามารถประคับประคองผลการตรวจทางร่างกายได้ดีขึ้น คำสำคัญพรหมวิหาร 4 พยาบาลวิชาชีพ ผู้ป่วยทางอายุรกรรมเรื้อรัง
The objectives of this dissertation were; 1) to study the application of Buddhadhamma in patient caring process of the nurses in Chronic Disease Clinic, 2) to develop Buddhadham model in patient caring process of the nurses in Chronic Disease Clinic, 3) to present the model in the application of Buddhadhamma in patient caring process of the nurses in Chronic Disease Clinic, and 4) to create the body of knowledge in the application of Buddhadhamma in patient caring process of the nurses in Chronic Disease Clinic. The research method was the quasi experimental research. The experimental instrument consisted of a test paper on Brahmavihara Dhamma and behavioral questionnaire on the application of Brahmavihara Dhamma. The populations used in the study were nurses in Chronic Disease Clinic. The result of the study are found that: 1. All of chronic disease clinic nurses use nursing standard practice, a litille application of Loveing kindness, Compassion, and Equanimity, but not in Sympathetic joy. 2. The development of Buddhadhamma model was based on the principles of Brahmavihara Dhamma and Ten Caring Theory of Jean Watson. 3. The KEsPa model was the result of integration Brahmavihara Dhamma and Ten Caring Theory together. The results were that: the nurses’ behaviors were improved in total and in aspects from 4.14  0.49 to 4.22  0.48. The highest value was in Loving kindness from 4.09  0.48 to 4.22  0.40. This result was related to a group discussion with the patients that the nurses’ behaviors indicated that they were emphatic and encouraged the patients.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558