Search results

264 results in 0.07s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินงาน ผลการเปลี่ยนแปลง และการเรียนรู้ในระดับบุคคล กลุ่มบุคคลและหน่วยงาน รวมทั้งความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในวงจรการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล 2 วงจร ตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกับผู้ร่วมวิจัยจำนวน 17 คน ในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนาโป่ง สังกัดกองการศึกษาเทศบาลตำบลนาโป่ง จังหวัดเลย โดยวงจรแรกดำเนินการระหว่างเดือนเมษายน-กันยายน พ.ศ. 2559 วงจรที่สองระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559-เมษายน พ.ศ. 2560 ผลการวิจัย พบว่า การดำเนินงานในขั้นตอนการเตรียมการ และในวงจรการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล ทั้ง 2 วงจร เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ ซึ่งส่งต่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียน โดยมีผลการประเมินจากการประเมินคุณภาพภายนอกในตัวบ่งชี้ที่เป็นจุดเน้นในการพัฒนาเพิ่มขึ้น จากเดิมอยู่ในระดับพอใช้เป็นระดับดีมาก เกิดการเรียนรู้ที่สำคัญทั้งในระดับบุคคล กลุ่มบุคคล และหน่วยงาน คือ การจัดการศึกษาให้ประสบผลสำเร็จจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย และผลจากการวิจัยได้ก่อให้เกิดความรู้ใหม่จากการปฏิบัติจริงในภาคสนามที่สำคัญ คือ การพัฒนาโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนาโป่งให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาตามรูปแบบที่เรียกว่า “NAPONG Model” ใน 4 ด้าน คือ 1) การบริหารจัดการที่ใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น 2) การพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3) การพัฒนาและการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 4) การได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองและชุมชน
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการดำเนินงาน ผลการเปลี่ยนแปลง และการเรียนรู้ในระดับบุคคล กลุ่มบุคคลและหน่วยงาน รวมทั้งความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติในวงจรการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล 2 วงจร ตามระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมกับผู้ร่วมวิจัยจำนวน 17 คน ในโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนาโป่ง สังกัดกองการศึกษาเทศบาลตำบลนาโป่ง จังหวัดเลย โดยวงจรแรกดำเนินการระหว่างเดือนเมษายน-กันยายน พ.ศ. 2559 วงจรที่สองระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559-เมษายน พ.ศ. 2560 ผลการวิจัย พบว่า การดำเนินงานในขั้นตอนการเตรียมการ และในวงจรการวางแผน การปฏิบัติ การสังเกต และการสะท้อนผล ทั้ง 2 วงจร เป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้ ซึ่งส่งต่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียน โดยมีผลการประเมินจากการประเมินคุณภาพภายนอกในตัวบ่งชี้ที่เป็นจุดเน้นในการพัฒนาเพิ่มขึ้น จากเดิมอยู่ในระดับพอใช้เป็นระดับดีมาก เกิดการเรียนรู้ที่สำคัญทั้งในระดับบุคคล กลุ่มบุคคล และหน่วยงาน คือ การจัดการศึกษาให้ประสบผลสำเร็จจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย และผลจากการวิจัยได้ก่อให้เกิดความรู้ใหม่จากการปฏิบัติจริงในภาคสนามที่สำคัญ คือ การพัฒนาโรงเรียนอนุบาลเทศบาลนาโป่งให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิผลต้องให้ความสำคัญกับการพัฒนาตามรูปแบบที่เรียกว่า “NAPONG Model” ใน 4 ด้าน คือ 1) การบริหารจัดการที่ใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น 2) การพัฒนาหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 3) การพัฒนาและการใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น และ 4) การได้รับการยอมรับจากผู้ปกครองและชุมชน
The objectives of this research were to study the performance, change results and personal learning. Individuals and organizations Including new knowledge gained from the practice in the cycle of Planning, Observing, and Reflecting the two cycles according to Participatory Action Research methodology with 17 researchers in Napong Municipality Kindergarten. The first cycle was from April to September, 2016. The second cycle was between October, 2016 to April, 2017. The findings showed that the implementation of the preparation process. And in the cycle of Planning, implementation, observation and reflection, the two circuits are in accordance with the Plan. Which sends the effectiveness of the school. The results of the external quality assessment in the indicator are the focus of development. The level of good is very good. The importance of learning at the individual, group and individual level is the result of the successful education of all stakeholders. The results of the research have generated new knowledge from the field practice. The important thing is the development of kindergartens in Napong to be effective. It is important to focus on the development in the form called “NAPONG. Model” in 4 areas : 1) School-based management of local development; 2) Development of curriculum and instructional activities focused on learners; Each use of resources and traditional knowledge; and 4) recognition from parents and the community.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    การวิจัยเรื่อง “แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุค”นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดจริยศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดปรัชญาหลังนวยุค 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคและ 4) เพื่อวิจารณ์แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารการศึกษาเอกสารทั้งที่เกี่ยวข้องกับจริยศาสตร์และปรัชญาหลังนวยุคจากนั้นได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์และวิจารณ์ในลักษณะการพรรณนาเชิงวิเคราะห์เพื่อสร้างกรอบแนวคิดภายใต้ระเบียบวิธีการศึกษาจริยศาสตร์แบบบรรทัดฐาน ผลวิจัยสรุปว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในปรัชญานวยุคเป็นวิกฤติเชิงคุณค่า จึงจำต้องนำเสนอแนวคิดทางจริยศาสตร์เชิงคุณธรรม (Virtue Ethics) ซึ่งเป็นความดีที่หล่อหลอมอยู่ในตัวตนของมนุษย์มีองค์ประกอบ 3 ประการคือ 1) คุณธรรมติดตัว (Virtue of Character) เป็นการตระหนักรู้ว่า มนุษย์มีคุณค่าในฐานะตัวตนทางอภิปรัชญาโดยที่อัตถิภาวะต้องสร้างสารัตถะบนพื้นฐานของเสรีภาพแห่งตนที่ได้มาโดยกำเนิดโดยสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในโลกเพื่อเป้าหมายแห่งการสำแดงอัตถิภาวะแท้ของบุคคลเป็นประการแรกการตระหนักรู้ในคุณสมบัติเฉพาะของมนุษย์เป็นประการที่สองและ ประการสุดท้ายเป็นวิถีแห่งมนุษย์ที่เป็นสัตว์ระดับจิตวิญญาณที่ประกอบด้วย 3 พฤติกรรมหลัก คือ (1) การแสวงหาความจริงของมนุษย์(2) แสวงหาความหมายของชีวิตและ (3) ความหมายของการมีชีวิตอยู่ 2) ปัญญาภาคปฏิบัติ (Practical Wisdom) เป็นการตระหนักรู้ว่าสังคมมีคุณค่าในฐานะพื้นที่ทางจริยะที่มนุษย์ต้องดำรงอยู่ด้วยการอิงอาศัยกันและเคารพในขอบเขตของเสรีภาพแห่งตนและผู้อื่น 3) ความสุขจากความงอกงาม (Flourishing Happiness) เป็นการตระหนักรู้ญาณวิทยาศาสตร์มีคุณค่าในฐานะเครื่องมือทางญาณวิทยาได้พัฒนาองค์ความรู้โดยใช้เวลาก่อตัวยาวนานเพื่อเป็นเครื่องมือในการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์เท่านั้น การนำมาประยุกต์ใช้จำต้องอยู่ภายใต้กรอบของจริยธธรรมเป็นสำคัญ
การวิจัยเรื่อง “แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุค”นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดจริยศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาแนวคิดปรัชญาหลังนวยุค 3) เพื่อวิเคราะห์แนวคิดจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคและ 4) เพื่อวิจารณ์แนวคิดทางจริยศาสตร์ในปรัชญาหลังนวยุคงานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารการศึกษาเอกสารทั้งที่เกี่ยวข้องกับจริยศาสตร์และปรัชญาหลังนวยุคจากนั้นได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์และวิจารณ์ในลักษณะการพรรณนาเชิงวิเคราะห์เพื่อสร้างกรอบแนวคิดภายใต้ระเบียบวิธีการศึกษาจริยศาสตร์แบบบรรทัดฐาน ผลวิจัยสรุปว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในปรัชญานวยุคเป็นวิกฤติเชิงคุณค่า จึงจำต้องนำเสนอแนวคิดทางจริยศาสตร์เชิงคุณธรรม (Virtue Ethics) ซึ่งเป็นความดีที่หล่อหลอมอยู่ในตัวตนของมนุษย์มีองค์ประกอบ 3 ประการคือ 1) คุณธรรมติดตัว (Virtue of Character) เป็นการตระหนักรู้ว่า มนุษย์มีคุณค่าในฐานะตัวตนทางอภิปรัชญาโดยที่อัตถิภาวะต้องสร้างสารัตถะบนพื้นฐานของเสรีภาพแห่งตนที่ได้มาโดยกำเนิดโดยสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในโลกเพื่อเป้าหมายแห่งการสำแดงอัตถิภาวะแท้ของบุคคลเป็นประการแรกการตระหนักรู้ในคุณสมบัติเฉพาะของมนุษย์เป็นประการที่สองและ ประการสุดท้ายเป็นวิถีแห่งมนุษย์ที่เป็นสัตว์ระดับจิตวิญญาณที่ประกอบด้วย 3 พฤติกรรมหลัก คือ (1) การแสวงหาความจริงของมนุษย์(2) แสวงหาความหมายของชีวิตและ (3) ความหมายของการมีชีวิตอยู่ 2) ปัญญาภาคปฏิบัติ (Practical Wisdom) เป็นการตระหนักรู้ว่าสังคมมีคุณค่าในฐานะพื้นที่ทางจริยะที่มนุษย์ต้องดำรงอยู่ด้วยการอิงอาศัยกันและเคารพในขอบเขตของเสรีภาพแห่งตนและผู้อื่น 3) ความสุขจากความงอกงาม (Flourishing Happiness) เป็นการตระหนักรู้ญาณวิทยาศาสตร์มีคุณค่าในฐานะเครื่องมือทางญาณวิทยาได้พัฒนาองค์ความรู้โดยใช้เวลาก่อตัวยาวนานเพื่อเป็นเครื่องมือในการการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์เท่านั้น การนำมาประยุกต์ใช้จำต้องอยู่ภายใต้กรอบของจริยธธรรมเป็นสำคัญ
The objectives of the research entitled “Ethical Concepts in Postmodernism” were as follows: 1) to study Ethics, 2) to study Postmodernism, 3) to analyze ethical concepts in Postmodernism, and 4) to criticize ethical concepts in Postmodernism. This qualitative research was conducted as Documentary Research by applying both primary and secondary sources concerning Ethics and Postmodernism. Then, the data were analyzed and criticized in style of Critical Description to formulate conceptual framework, on the basis of Normative Ethics. The results of the research were found that the problems emerging in Modernism was the crisis of human value. It is required that virtue ethics, embedded in a human body, must be proposed to solve the problems. It is comprised of: 1) “Virtue of Character” is the awareness of human as value of metaphysic identity. As of this, an existence must create essence by endowed freedom in connection with others in the world for the purpose of authentic existence manifestation in the first place, including the awareness of humanly specific genies in the second place, and in the final place, human ways of spiritual being in 3 aspects such as (1) search for truth of human, (2) search for meanings of life, and (3) search for meaning of living. 2) Practical Wisdom is the awareness of society as value of spacio-ethics in which humans must live as space of interdependence and respect the scope of mutual freedom. 3) Flourishing Happiness is the awareness of science as value of epistemological instrument. This demonstrates that scientific epistemology has been developing with long-formulation to advance human lives only, so the application of entity of science requires greatness of ethical care. For that reason, once the previous Modernism society confronted with the “Crisis of Human Value”, “Virtue Ethics” must be educated into the current Postmodernism society so as to foster mutual habitation with real blessing.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) สร้างรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญา ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี กลุ่มตัวอย่าง คือโรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษาและโรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 182 โรงเรียน รวมให้ข้อมูลทั้งหมด 728 คน แบบสอบถามีค่าความเชื่อมั่น 0.991 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบประเมิน และรับรองรูปแบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเส้น และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า: 1) องค์ประกอบของรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปร มี 8 องค์ประกอบ คือ กระบวนการ ทางปัญญา ภาวะผู้นำ ขวัญกำลังใจ การเรียนรู้ เทคโนโลยีทางการศึกษา สิ่งแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และความพึงพอใจในองค์การ 2) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันทั้ง 8 องค์ประกอบ โดยมีค่าความสัมพันธ์กันในทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้ง 8 องค์ประกอบ ได้รับการประเมินและรับรองว่ามีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของการวิจัย ผ่านการประเมินคิดเป็น ร้อยละ 100
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) สร้างรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญา ของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี กลุ่มตัวอย่าง คือโรงเรียนประถมศึกษาขยายโอกาสทางการศึกษาและโรงเรียนมัธยมศึกษา จำนวน 182 โรงเรียน รวมให้ข้อมูลทั้งหมด 728 คน แบบสอบถามีค่าความเชื่อมั่น 0.991 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แบบประเมิน และรับรองรูปแบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเส้น และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า: 1) องค์ประกอบของรูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปร มี 8 องค์ประกอบ คือ กระบวนการ ทางปัญญา ภาวะผู้นำ ขวัญกำลังใจ การเรียนรู้ เทคโนโลยีทางการศึกษา สิ่งแวดล้อม การพัฒนาคุณภาพการศึกษา และความพึงพอใจในองค์การ 2) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นพหุตัวแปรที่มีความสัมพันธ์กันทั้ง 8 องค์ประกอบ โดยมีค่าความสัมพันธ์กันในทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) รูปแบบบรรยากาศองค์การเชิงบูรณาการปัญญาของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้ง 8 องค์ประกอบ ได้รับการประเมินและรับรองว่ามีความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ สอดคล้องกับแนวคิดทฤษฎีของการวิจัย ผ่านการประเมินคิดเป็น ร้อยละ 100
The objectives of the study were: 1) to study the components of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission, 2) to create a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission and, 3) to evaluate and verify the implication of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission. The mixed methods research was used in this study. The sample of the study was the administrators and teachers from 182 opportunity expansion schools totally 728 participants. The reliability of questionnaire was 0.991. The research instruments were interview, questionnaire, and the model assessment. The statistics used in the analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, exploratory factor analysis, linear relationship analysis, and content analysis. The results of the research were as follows: 1. The components of a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission used multivariate were found 8 components as 1) cognitive process, 2) leadership, 3) morale, 4) learning, 5) educational technology, 6) environment, 7) development of educational quality and, 8) organizational satisfaction. 2. The 8 components of a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission used multivariate that is related to all 8 elements were statistically significant at the 0.1 level. 3. The 8 components of a model of integrative in intelligence organizational climate for schools under the office of the Basic Education Commission were at 100% verification of the acceptable range of accuracy, suitability, possibility, and practicality, corresponding to the theoretical studies.