Search results

25 results in 0.06s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสันติประชาคม 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่เกี่ยวกับการสร้างสันติประชาคม 3) เพื่อบูรณาการการสร้างสันติประชาคมตามแนวพุทธ และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการสร้างสันติประชาคมตามแนวพุทธ” ผู้วิจัยรวบรวมจากข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ พระไตรปิฎก และข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ อรรถกถา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ และสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิทางพุทธศาสนาและสันติศึกษา รวมจำนวน 20 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาอธิบายเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสันติประชาคม เป็นวิธีการสร้างให้สังคมให้เกิดความสงบ มี 2 แนวคิด คือ 1) การสร้างสันติประชาคมตามทัศนะต่าง ๆ ได้แก่ (1) การปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน (2) การไม่ใช้ความรุนแรงในการเรียกร้องสิทธิ และ (3) การเจรจาไกล่เกลี่ย 2) การสร้างสันติประชาคมตามแนวพระพุทธศาสนา ได้แก่ (1) การระงับความขัดแย้งด้วยหลักอธิกรณสมถะ (2) การพัฒนากาย จิต และปัญญาด้วยหลักไตรสิกขา และ (3) การสร้างความเมตตา ความสามัคคีในสังคมด้วยหลักสาราณียธรรมและหลักอปริหานิยธรรม 2. หลักพุทธธรรมที่เกี่ยวกับการสร้างสันติประชาคม มีหลักธรรม 6 ประการ ได้แก่ หลักไตรสิกขา เป็นหลักพัฒนากาย จิต ปัญญาของตนเอง หลักสาราณียธรรม หลักอปริหานิยธรรม เป็นหลักเชื่อมความเมตตา ความสามัคคีของคนในสังคมเข้าด้วยกัน หลักกัลยาณมิตร หลักโยนิโสมนสิการ และหลักอภัยทาน เป็นหลักที่ใช้ระงับความขัดแย้ง 3. บูรณาการการสร้างสันติประชาคมตามแนวพุทธ มีการสร้าง 4 ขั้นตอน คือ 1) การสร้างสันติทางกาย 2) การสร้างสันติทางจิต 3) การสร้างสันติทางปัญญา ทั้ง 3 ข้อนี้สร้างด้วยหลักไตรสิกขา และ 4) การสร้างสันติทางสังคม สร้างจากบุคคลภายในครอบครัว ไปสู่ชุมชน และสังคมโลก มีการสร้าง 2 แนวทาง คือ 1. การสร้างสันติทางสังคมด้วยหลักสาราณียธรรมและหลักอปริหานิยธรรม โดยให้บุคคลทุกสถานภาพทางสังคมมีการปฏิบัติต่อกันด้วยดี 2. การสร้างสันติทางสังคมด้วยหลักไกล่เกลี่ยคนกลางเข้ามาระงับความขัดแย้งในสังคม ประกอบด้วยหลักธรรม 3 ประการคือ 1. หลักกัลยาณมิตร 2. หลักโยนิโสมนสิการ 3. หลักอภัยทาน และ 4. รูปแบบการสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการสร้างสันติประชาคมแนวพุทธ คือ “CPAP MODEL”
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสันติประชาคม 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่เกี่ยวกับการสร้างสันติประชาคม 3) เพื่อบูรณาการการสร้างสันติประชาคมตามแนวพุทธ และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับ “รูปแบบการสร้างสันติประชาคมตามแนวพุทธ” ผู้วิจัยรวบรวมจากข้อมูลปฐมภูมิ ได้แก่ พระไตรปิฎก และข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ อรรถกถา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ และสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิทางพุทธศาสนาและสันติศึกษา รวมจำนวน 20 รูป/คน แล้วนำข้อมูลที่ได้มาอธิบายเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสันติประชาคม เป็นวิธีการสร้างให้สังคมให้เกิดความสงบ มี 2 แนวคิด คือ 1) การสร้างสันติประชาคมตามทัศนะต่าง ๆ ได้แก่ (1) การปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชน (2) การไม่ใช้ความรุนแรงในการเรียกร้องสิทธิ และ (3) การเจรจาไกล่เกลี่ย 2) การสร้างสันติประชาคมตามแนวพระพุทธศาสนา ได้แก่ (1) การระงับความขัดแย้งด้วยหลักอธิกรณสมถะ (2) การพัฒนากาย จิต และปัญญาด้วยหลักไตรสิกขา และ (3) การสร้างความเมตตา ความสามัคคีในสังคมด้วยหลักสาราณียธรรมและหลักอปริหานิยธรรม 2. หลักพุทธธรรมที่เกี่ยวกับการสร้างสันติประชาคม มีหลักธรรม 6 ประการ ได้แก่ หลักไตรสิกขา เป็นหลักพัฒนากาย จิต ปัญญาของตนเอง หลักสาราณียธรรม หลักอปริหานิยธรรม เป็นหลักเชื่อมความเมตตา ความสามัคคีของคนในสังคมเข้าด้วยกัน หลักกัลยาณมิตร หลักโยนิโสมนสิการ และหลักอภัยทาน เป็นหลักที่ใช้ระงับความขัดแย้ง 3. บูรณาการการสร้างสันติประชาคมตามแนวพุทธ มีการสร้าง 4 ขั้นตอน คือ 1) การสร้างสันติทางกาย 2) การสร้างสันติทางจิต 3) การสร้างสันติทางปัญญา ทั้ง 3 ข้อนี้สร้างด้วยหลักไตรสิกขา และ 4) การสร้างสันติทางสังคม สร้างจากบุคคลภายในครอบครัว ไปสู่ชุมชน และสังคมโลก มีการสร้าง 2 แนวทาง คือ 1. การสร้างสันติทางสังคมด้วยหลักสาราณียธรรมและหลักอปริหานิยธรรม โดยให้บุคคลทุกสถานภาพทางสังคมมีการปฏิบัติต่อกันด้วยดี 2. การสร้างสันติทางสังคมด้วยหลักไกล่เกลี่ยคนกลางเข้ามาระงับความขัดแย้งในสังคม ประกอบด้วยหลักธรรม 3 ประการคือ 1. หลักกัลยาณมิตร 2. หลักโยนิโสมนสิการ 3. หลักอภัยทาน และ 4. รูปแบบการสร้างองค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับการสร้างสันติประชาคมแนวพุทธ คือ “CPAP MODEL”
The objectives of this dissertation were as follows: 1) to study the concept of building a peaceful community, 2) to study the Buddhadhamma related to building a peaceful community, 3) to integrate building a peaceful community according to Buddhism, and 4) to propose a guideline and new body of knowledge about building a peaceful community according to Buddhism. The data of this qualitative study were collected from the Tipitaka, other related texts and documents along with in-depth interviews with 20 scholars in Buddhism and Peace Study. The data were analyzed, synthesized and then presented in a descriptive method. The results of the study were found that: 1. There are 2 concepts of community peace building; 1) Community peace building according to various views; (1) Compliance with human rights principles, (2) Non-violence in claiming rights, and (3) Mediation negotiations, and 2) Community peace building according to Buddhism; (1) Conflict suppression with the principles of Adhikaraņasamatha, (2) Development of body, mind, and wisdom with Threefold Training, and (3) Building loving-kindness and harmony in society by the principles of SāraņĪyadhamma and Aparihāniyadhamma. 2. There are 6 Buddhist principles related to community peace building: The Threefold Training for developing body, mind, and wisdom, SāraņĪyadhamma and Aparihāniyadhamma to combine mercy and harmony of people in the society together, and Kalayāņamittatā, Yonisomanasikara and Abhayadāna for suppressing conflicts. 3. The integration of building a peaceful community according to Buddhism has 4 steps: 1) Building bodily peace, 2) Building mental peace, and 3) Building wisdom peace by the Threefold Training, and 4) Building social peace starting from individuals within family to community and the world society in 2 ways as follows: 1. Building social peace with SāraņĪyadhamma and Aparihāniyadhamma for individuals in every status treat one another with good wishes, and 2. Building social peace by using mediation principles and mediators in social conflicts. This method is based on the principles of: (1) Kalayāņamittatā, (2) Yonisomanasikāra, and (3) Abhayadāna. 4. The guideline and body of knowledge concerning the building a peaceful community according to Buddhism could be concluded in "CPAP MODEL".
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัตสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555