Search results

5 results in 0.04s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    การศึกษาดุษฎีนิพนธ์เรื่อง สุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงเชิงพุทธมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) เพื่อบูรณาการสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัย ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยหลักพุทธธรรม 4) เพื่อเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัย ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยหลักพุทธธรรม” ดุษฎีนิพนธ์นี้ได้ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยมีวิธีดำเนินการวิจัยเริ่มจากการรวบรวมข้อมูล เนื้อหาจากหนังสือ ตำรา บทความวิจัย หลักพุทธธรรมจากพระไตรปิฎกและอรรถกถา จากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีประสบการณ์ในด้านสุนทรียภาพ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพุทธศาสนา จำนวน 10 รูป/คน และสำรวจพื้นที่ 114 ห้องพักอาศัยจาก 5 โครงการ หลังจากนั้นนำมาถอดรหัสและบูรณาการสู่รูปแบบสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัย ผลการวิจัยพบว่า 1) สุนทรียภาพที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความจริง ความดี และความงามของสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเชิงพุทธก่อให้เกิดความสมดุลบนทางสายกลาง นำมาซึ่งความสงบ ร่มเย็นทางร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ สร้างความสมดุลระหว่างศาสตร์ ศิลปะ และธรรมชาติ อันก่อให้เกิดความเป็นอยู่ของสภาพแวดล้อมภายในได้อย่างมีคุณภาพภายใต้บริบทของความเรียบง่าย ประยุกต์ ประโยชน์ และประหยัด 2) หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นำมาซึ่งแนวทางการจัดพื้นที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย สัดส่วนแห่งความพองาม ผังพื้นแห่งความพอเพียง และโซนแห่งความพอดี รวมถึงการจัดวางเครื่องเรือนเท่าที่จำเป็นต่อการอยู่อาศัย ที่สัมพันธ์กับจิตวิญญาณ งดงาม คุณค่า สารัตถะ 3) การบูรณาการสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยหลักพุทธธรรม นำมาสู่การสร้างคุณภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยภายใต้องค์ประกอบของ พื้นที่ว่าง แสงธรรมชาติ บรรยากาศ และผิวสัมผัส (SLAT) ดังปรากฏอยู่ใน ห้องนอน ห้องนั่งเล่น ห้องเตรียมอาหาร และห้องน้ำ (SLPT) 4) สามารถสังเคราะห์องค์ความรู้ได้เป็นความเรียบง่าย ประยุกต์ ประโยชน์ ประหยัดที่สัมพันธ์กับจิตวิญญาณ งดงาม คุณค่า สารัตถะ และมีความหมายดังสมการ SAFE & SAVE ภายใต้โมเดลสุนทรียภาพสมดุล โดยองค์ความรู้ที่ได้รับจากผลการวิจัย สามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางการสร้างสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดคุณภาพการอยู่อาศัยได้อย่างสมดุล เหมาะสมกับบริบทสังคมไทยในปัจจุบันและอนาคต
การศึกษาดุษฎีนิพนธ์เรื่อง สุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงเชิงพุทธมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3) เพื่อบูรณาการสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัย ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยหลักพุทธธรรม 4) เพื่อเสนอแนวทางและการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบการบูรณาการสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัย ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยหลักพุทธธรรม” ดุษฎีนิพนธ์นี้ได้ดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยมีวิธีดำเนินการวิจัยเริ่มจากการรวบรวมข้อมูล เนื้อหาจากหนังสือ ตำรา บทความวิจัย หลักพุทธธรรมจากพระไตรปิฎกและอรรถกถา จากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้มีประสบการณ์ในด้านสุนทรียภาพ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และพุทธศาสนา จำนวน 10 รูป/คน และสำรวจพื้นที่ 114 ห้องพักอาศัยจาก 5 โครงการ หลังจากนั้นนำมาถอดรหัสและบูรณาการสู่รูปแบบสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัย ผลการวิจัยพบว่า 1) สุนทรียภาพที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความจริง ความดี และความงามของสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเชิงพุทธก่อให้เกิดความสมดุลบนทางสายกลาง นำมาซึ่งความสงบ ร่มเย็นทางร่างกาย จิตใจและจิตวิญญาณ สร้างความสมดุลระหว่างศาสตร์ ศิลปะ และธรรมชาติ อันก่อให้เกิดความเป็นอยู่ของสภาพแวดล้อมภายในได้อย่างมีคุณภาพภายใต้บริบทของความเรียบง่าย ประยุกต์ ประโยชน์ และประหยัด 2) หลักพุทธธรรมที่ส่งเสริมสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นำมาซึ่งแนวทางการจัดพื้นที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย สัดส่วนแห่งความพองาม ผังพื้นแห่งความพอเพียง และโซนแห่งความพอดี รวมถึงการจัดวางเครื่องเรือนเท่าที่จำเป็นต่อการอยู่อาศัย ที่สัมพันธ์กับจิตวิญญาณ งดงาม คุณค่า สารัตถะ 3) การบูรณาการสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วยหลักพุทธธรรม นำมาสู่การสร้างคุณภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยภายใต้องค์ประกอบของ พื้นที่ว่าง แสงธรรมชาติ บรรยากาศ และผิวสัมผัส (SLAT) ดังปรากฏอยู่ใน ห้องนอน ห้องนั่งเล่น ห้องเตรียมอาหาร และห้องน้ำ (SLPT) 4) สามารถสังเคราะห์องค์ความรู้ได้เป็นความเรียบง่าย ประยุกต์ ประโยชน์ ประหยัดที่สัมพันธ์กับจิตวิญญาณ งดงาม คุณค่า สารัตถะ และมีความหมายดังสมการ SAFE & SAVE ภายใต้โมเดลสุนทรียภาพสมดุล โดยองค์ความรู้ที่ได้รับจากผลการวิจัย สามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นแนวทางการสร้างสุนทรียภาพสภาพแวดล้อมภายในที่อยู่อาศัยในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดคุณภาพการอยู่อาศัยได้อย่างสมดุล เหมาะสมกับบริบทสังคมไทยในปัจจุบันและอนาคต
The objectives of this research entitled “Aesthetic of Home Interior Environment according to Sufficiency Economy Philosophy in Buddhist Approach” were as follows: 1. To study the aesthetic of home interior environment according to Sufficiency Economy Philosophy, 2. To study the principles of Buddhadhamma enhancing the Sufficiency Economy Philosophy, 3. To integrate the aesthetic of home interior environment according to Sufficiency Economy Philosophy in Buddhist approach and 4. To propose guidelines in creating new knowledge regarding “the model of integrating the aesthetic of home interior environment according to Sufficiency Economy Philosophy in Buddhist approach”. The data of this qualitative research were collected from books, text books, research articles, the Tipittaka, the Commentaries, and in-depth interviews with 10 experts in Aesthetic, Sufficiency Economy Philosophy and Buddhism and from site survey in 114 rooms from 5 projects. After that, the data were decoded and integrated into Interior environment. The results of the study indicated that: 1) The aesthetic base on the truth, virtue and beauty of home interior environment according to Sufficiency Economy Philosophy in the balance of middle way leads to peacefulness in body, mind and soul. It also creates the balance between science, art and nature that cause the quality of living on simple, applicable, functional and economy basis (SAFE). 2) The Buddhist principles that enhance the aesthetic of home interior environment according to Sufficiency Economy Philosophy lead to the principle of beauty proportion, moderate zoning and sufficient layout planning including furniture as much as necessary of living environment associate with spirit, aesthetic, value and essence (SAVE). 3) The integrating of Buddhist principles into the aesthetic of home interior environment according to Sufficiency Economy Philosophy lead to the quality of space, light, atmosphere and texture (SLAT) in the area of sleeping, living, pantry and toilet (SLPT). 4) The new knowledge from the integrating of Buddhist principles into the aesthetic of home interior environment according to Sufficiency Economy Philosophy in Buddhist approach can be synchronized into simplicity, applicability, function and economy as in the SAFE & SAVE Model.. The results of this research can be applied into the aesthetic of home interior environment of living in different types suitable to the contexts of Thai society in now and then.