Search results

4 results in 0.03s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาชีวิตและการดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด19 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทที่เหมาะสมกับการดูแลคุณภาพชีวิตในยุคโควิด 19 3) เพื่อบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 4) เพื่อเสนอองค์ความรู้เรื่อง การบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด19 โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นหลักและการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มนักวิชาการด้านพระพุทธศาสนา จำนวน 5 รูป/คนกลุ่มสายงานด้านการดูแลสุขภาพ จำนวน 5 คนตัวแทนผู้ได้รับผลกระทบในสถานการณ์โควิด 19 จำนวน 5 คนรวมทั้งสิ้น จำนวน 15 รูป/คนวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา นำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า: 1. สภาพปัญหาชีวิตในสถานการณ์โควิด19 ทำให้พบสภาพปัญหาชีวิตที่ปรากฏในสถานการณ์โควิด 19 3 ด้าน คือ 1) ปัญหาด้านจิตใจมีความเครียดความวิตกกังวลที่เพิ่มขึ้น 2) ปัญหาด้านสังคมวิถีการดำเนินชีวิต การจำกัดสิทธิเสรีภาพ การตกงาน ส่งผลถึงครอบครัว สังคม ประเพณีและวิถีปฏิบัติ 3) ปัญหาด้านเศรษฐกิจในหลายกลุ่มประชากร การตกงาน การขาดรายได้และมีผลกระทบที่รุนแรงและยังไม่มีแนวโน้มที่จะดีขึ้น 2. หลักพุทธปรัชญาเถรวาทที่เหมาะสมกับการที่จะนำมาพัฒนาคุณภาพชีวิตประกอบด้วย 1)พรหมวิหารธรรม 4 หลักธรรมประจำใจอันประเสริฐธรรมเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ 2) สังคหวัตถุ 4 หลักการสงเคราะห์กันในสังคม เป็นธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กันยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน 3) ทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 หลักการสร้างประโยชน์ในปัจจุบัน เป็นธรรมที่สร้างความสุขให้กับบุคคลผู้ดำเนินชีวิตในปัจจุบัน 3. การบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 พบว่า ปัญหาด้านจิตใจได้นำหลักพรหมวิหาร 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิตปัญหาด้านสังคมได้นำหลักสังคหวัตถุ 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิต ปัญหาด้านเศรษฐกิจได้นำหลักทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิต 4. องค์ความรู้ใหม่ที่ได้เรียกว่า “MSE Strong” โมเดลM มาจาก Mentally Strong มีความเข้มแข็งทางจิตใจ S มาจาก Socially Strong มีความเข้มแข็งทางสังคมและ E มาจาก Economic Strong มีความเข้มแข็งเศรษฐกิจ เป็นความรู้ที่สามารถนำมาปรับใช้เพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 ได้เป็นอย่างดี
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาชีวิตและการดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด19 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทที่เหมาะสมกับการดูแลคุณภาพชีวิตในยุคโควิด 19 3) เพื่อบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 4) เพื่อเสนอองค์ความรู้เรื่อง การบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด19 โดยการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากพระไตรปิฎก ตำราและเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นหลักและการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มนักวิชาการด้านพระพุทธศาสนา จำนวน 5 รูป/คนกลุ่มสายงานด้านการดูแลสุขภาพ จำนวน 5 คนตัวแทนผู้ได้รับผลกระทบในสถานการณ์โควิด 19 จำนวน 5 คนรวมทั้งสิ้น จำนวน 15 รูป/คนวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา นำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า: 1. สภาพปัญหาชีวิตในสถานการณ์โควิด19 ทำให้พบสภาพปัญหาชีวิตที่ปรากฏในสถานการณ์โควิด 19 3 ด้าน คือ 1) ปัญหาด้านจิตใจมีความเครียดความวิตกกังวลที่เพิ่มขึ้น 2) ปัญหาด้านสังคมวิถีการดำเนินชีวิต การจำกัดสิทธิเสรีภาพ การตกงาน ส่งผลถึงครอบครัว สังคม ประเพณีและวิถีปฏิบัติ 3) ปัญหาด้านเศรษฐกิจในหลายกลุ่มประชากร การตกงาน การขาดรายได้และมีผลกระทบที่รุนแรงและยังไม่มีแนวโน้มที่จะดีขึ้น 2. หลักพุทธปรัชญาเถรวาทที่เหมาะสมกับการที่จะนำมาพัฒนาคุณภาพชีวิตประกอบด้วย 1)พรหมวิหารธรรม 4 หลักธรรมประจำใจอันประเสริฐธรรมเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ 2) สังคหวัตถุ 4 หลักการสงเคราะห์กันในสังคม เป็นธรรมที่เป็นที่ตั้งแห่งการสงเคราะห์กันยึดเหนี่ยวน้ำใจกัน 3) ทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 หลักการสร้างประโยชน์ในปัจจุบัน เป็นธรรมที่สร้างความสุขให้กับบุคคลผู้ดำเนินชีวิตในปัจจุบัน 3. การบูรณาการหลักพุทธปรัชญาเถรวาทเพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 พบว่า ปัญหาด้านจิตใจได้นำหลักพรหมวิหาร 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิตปัญหาด้านสังคมได้นำหลักสังคหวัตถุ 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิต ปัญหาด้านเศรษฐกิจได้นำหลักทิฏฐธัมมิกัตถะ 4 เข้ามาบูรณาการดูแลคุณภาพชีวิต 4. องค์ความรู้ใหม่ที่ได้เรียกว่า “MSE Strong” โมเดลM มาจาก Mentally Strong มีความเข้มแข็งทางจิตใจ S มาจาก Socially Strong มีความเข้มแข็งทางสังคมและ E มาจาก Economic Strong มีความเข้มแข็งเศรษฐกิจ เป็นความรู้ที่สามารถนำมาปรับใช้เพื่อดูแลคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โควิด 19 ได้เป็นอย่างดี
The objectives of this dissertation were: 1) to study the state of life problems in the situation of COVID-19, 2) to study the principles of Theravada Buddhist philosophy suitable to take care of the quality of life in the situation of COVID-19, 3) to integrate the Theravada Buddhist philosophy to take care of the quality of life in the situation of COVID-19, and 4) to propose the body of knowledge on integration of Theravada Buddhist philosophy in taking care of the quality of life in the situation of COVID-19. The data used in the study were collected from the Tipitaka, textbooks, related documents, in-depth interviews with 5 Buddhist scholars, 5 health care personnel, and 5 Covid-19 patients. The data were analyzed by content analysis and presented in a descriptive form. The results of the research showed that: 1. The state of life problems in the situation of COVID-19 that causes the quality of life in 3 aspects: 1) psychological problems, increase of stress and anxiety, 2) social problems, lifestyle, restrictions on rights and freedom, and unemployment affecting family, society, traditions and ways of life, and 3) economic problems in many demographic groups, unemployment, and lack of income. It has a severe impact to life and no tendency to recover. 2. The principles of Theravada Buddhist philosophy suitable to improve the quality of life consist of: 1) Brahmawihara Dhamma or the sublime states of mind, 2)Sangahavatthu Dhamma or principles of service and social integration, and 3) Ditthadhammikattha or sources of happiness in the present life. 3. The integration of Theravada Buddhist philosophy in taking care of quality of life in the situation of COVID-19 found that psychological problems should be integrated with Brahmavihara Dhamma principles, social problems should be integrated with Sangahavatthu principles, and economic problems should be integrated Ditthadhammikattha principles. 4. The new body of knowledge obtained from the study can be concluded into the “MSE Strong Model”. M is from Mentally Strong, S from Socially Strong, and E from Economic Strong. This model can be appropriately applied to take care of the quality of life in the Covid-19 situation.