Search results

8 results in 0.1s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 27,718 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 610 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 60 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.84-1.70 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.31-1.95 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-8.26 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 27,718 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบประมาณค่าจากกลุ่มตัวอย่าง ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 610 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 60 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.84-1.70 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.31-1.95 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.30-8.26 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the Fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The research population was 27,718 primary school administrators under the jurisdiction of the Office of the Basic Education Commission. Data were collected by using a set of rating scale questionnaires from 610 randomly selected multistage random sampling. Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypotheses : 1) The 60 indicators used in the study were suitable for the criteria as mean equal to or higher than 3.00 and distribution coefficients equal to or less than 20. All were selected in the model. 2) Models developed from theory and research were fit with empirical data by the value of relative Chi-square (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), Goodness-of-Fit Index (GFI) Adjusted Goodness-of-Fit Index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and Normed Fit Index (NFI) were in accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.84 to 1.70, which is higher than the criterion as 0.70. The minor components had factor loading between 0.31 to 1.95 and indicators had factor loading ranged from 0.30 to 8.26, which are higher than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง 2) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3-10 จำนวน 201 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 676 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 17 องค์ประกอบ 115 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า มี 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การดำเนินงาน 2) กระบวนการบริหารงานวิชาการ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การมีส่วนร่วมการศึกษา และ 5) ควบคุมคุณภาพการศึกษา และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบหลักควบคุมคุณภาพการศึกษา มีค่ามากที่สุด รองลงมา คือ กระบวนการบริหารงานวิชาการ กิจกรรมการเรียนรู้ การดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการศึกษา ตามลำดับ และรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992 และ RMSER = .000 แสดงว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 (X ̅ = 4.42) ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดคือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงถือว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง 2) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3-10 จำนวน 201 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 676 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 17 องค์ประกอบ 115 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า มี 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การดำเนินงาน 2) กระบวนการบริหารงานวิชาการ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การมีส่วนร่วมการศึกษา และ 5) ควบคุมคุณภาพการศึกษา และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบหลักควบคุมคุณภาพการศึกษา มีค่ามากที่สุด รองลงมา คือ กระบวนการบริหารงานวิชาการ กิจกรรมการเรียนรู้ การดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการศึกษา ตามลำดับ และรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992 และ RMSER = .000 แสดงว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 (X ̅ = 4.42) ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดคือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงถือว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
The purposes of this research were as follows : 1) to study the components of the academic administration in secondary schools in the central region of the Office of Basic Education Commission, 2) to create an academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission, and 3) to evaluate and affirm the academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected by questionnaires with reliability at 0.98, structural interviews and checklist forms from 676 samples consisting of school directors, vice academic directors, heads of academic department and teachers in 201 secondary schools under Office of the Basic Education Commission area 3-10. The data were collected from September 2018 to February 2019 and then analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, exploratory factor analysis, and confirmatory factor analysis. The results of this research found that : 1. The components of the academic administration of the secondary schools in the central region of the Office of Basic Education Commission consist of 17 components and 115 variables. 2. The academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission from exploratory factor analysis (EFA) has 5 main components; 1) Operation, 2) Academic administration process, 3) Learning activities, 4) Educational participation, and 5) Educational quality control. The results of confirmatory factor analysis (CFA) indicated that the highest value was on Educational quality control, followed by Learning activities, Operation, and Educational participation respectively. The model of academic administration for secondary school administrators has a chi-square value = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992, and RMSER - .000. This result indicates that the model is consistent with the empirical data. 3. The evaluation and confirmation of the model from experts in its propriety, accuracy, feasibility, and utility is at  = 4.42, higher than the set criteria at  = 3.51. That means the model is approved.
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Method Research) คือ ใช้วิธีวิจัยคุณภาพ (Qualitative Research) และเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน ได้แก่ สถานศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียน จำนวน 67 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 402 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 3 ชุด คือ 1) แบบสัมภาษณ์ ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามระดับการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ 3) แบบประเมินรูปแบบ ใช้เก็บข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบหลัก 11 องค์ประกอยย่อย ดังนี้ องค์ประกอบหลักที่ 1. ด้านการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1 งานวิชาการ 1.2 งบประมาณ 1.3 งานบุคคล และ 1.4 งานทั่วไป และองค์ประกอบหลักที่ 2. ด้านหลักกัลยาณธรรม ของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 7 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1 น่ารัก 2.2 น่าเคารพ 2.3 น่ายกย่อง 2.4 รู้จักพูดให้ได้ผล 2.5 อดทนต่อถ้อยคำ 2.6 อธิบายเรื่องล้ำลึกได้ และ 2.7 ไม่แนะนำเรื่องเหลวไหล 2. ผลการพัฒนาการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ โดยการนำหลักกัลยาณธรรม 7 เป็นองค์ประกอบในการพัฒนาการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ จากการวิเคราะห์องค์ประกอบที่เป็นปัจจัยสำคัญ ซึ่งมีความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลที่จะนำไปสู่พัฒนาการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการตรวจสอบความตรงของโมเดลที่พัฒนาขึ้น สรุปได้ว่า Chi-square=22.96, df=15, p=0.0849, GFI=0.99, ได้ร้อยละ 78.00 และการบริหารตามหลักกัลยาณธรรม ได้ร้อยละ 99.1 สามารถอธิบายความแปรปรวนในการบริหารได้ทุกองค์ประกอบ 1. ผลลัพธ์ด้านองค์ประกอบหลักด้านการบริหาร (𝜆=0.780) ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1 การบริหารบุคคล (𝜆=0.862) 1.2 การบริหารทั่วไป (𝜆=0.792) 1.3 การบริหารวิชาการ (𝜆=0.761) 1.4 การบริหารงบประมาณ (𝜆=0.705) 2. ผลลัพธ์องค์ประกอบหลักด้านหลักกัลยาณธรรม (𝜆=0.991) ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1 การอดทนต่อถ้อยคำ (𝜆=0.943) 2.2 รู้จักพูดให้เหตุผล (𝜆=0.942) 2.3 ทำตนให้น่ายกย่อง (𝜆=0.933) 2.4 สามารถอธิบายเรื่องล้ำลึก (𝜆=0.871) 2.5 ไม่แนะนำเรื่องเหลวไหล (𝜆=0.820) 2.6 มีความน่ารัก (𝜆=0.741) กับคนรอบตัว และ 2.7 เป็นที่เคารพ (𝜆=0.630) ของนักเรียน ครู และผู้ปกครอง 3.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Method Research) คือ ใช้วิธีวิจัยคุณภาพ (Qualitative Research) และเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย จำนวน ได้แก่ สถานศึกษา ซึ่งเป็นโรงเรียน จำนวน 67 โรง โดยมีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 402 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 3 ชุด คือ 1) แบบสัมภาษณ์ ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามระดับการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ 3) แบบประเมินรูปแบบ ใช้เก็บข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบหลัก 11 องค์ประกอยย่อย ดังนี้ องค์ประกอบหลักที่ 1. ด้านการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1 งานวิชาการ 1.2 งบประมาณ 1.3 งานบุคคล และ 1.4 งานทั่วไป และองค์ประกอบหลักที่ 2. ด้านหลักกัลยาณธรรม ของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 7 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1 น่ารัก 2.2 น่าเคารพ 2.3 น่ายกย่อง 2.4 รู้จักพูดให้ได้ผล 2.5 อดทนต่อถ้อยคำ 2.6 อธิบายเรื่องล้ำลึกได้ และ 2.7 ไม่แนะนำเรื่องเหลวไหล 2. ผลการพัฒนาการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ โดยการนำหลักกัลยาณธรรม 7 เป็นองค์ประกอบในการพัฒนาการบริหารของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ จากการวิเคราะห์องค์ประกอบที่เป็นปัจจัยสำคัญ ซึ่งมีความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลที่จะนำไปสู่พัฒนาการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการตรวจสอบความตรงของโมเดลที่พัฒนาขึ้น สรุปได้ว่า Chi-square=22.96, df=15, p=0.0849, GFI=0.99, ได้ร้อยละ 78.00 และการบริหารตามหลักกัลยาณธรรม ได้ร้อยละ 99.1 สามารถอธิบายความแปรปรวนในการบริหารได้ทุกองค์ประกอบ 1. ผลลัพธ์ด้านองค์ประกอบหลักด้านการบริหาร (𝜆=0.780) ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1 การบริหารบุคคล (𝜆=0.862) 1.2 การบริหารทั่วไป (𝜆=0.792) 1.3 การบริหารวิชาการ (𝜆=0.761) 1.4 การบริหารงบประมาณ (𝜆=0.705) 2. ผลลัพธ์องค์ประกอบหลักด้านหลักกัลยาณธรรม (𝜆=0.991) ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1 การอดทนต่อถ้อยคำ (𝜆=0.943) 2.2 รู้จักพูดให้เหตุผล (𝜆=0.942) 2.3 ทำตนให้น่ายกย่อง (𝜆=0.933) 2.4 สามารถอธิบายเรื่องล้ำลึก (𝜆=0.871) 2.5 ไม่แนะนำเรื่องเหลวไหล (𝜆=0.820) 2.6 มีความน่ารัก (𝜆=0.741) กับคนรอบตัว และ 2.7 เป็นที่เคารพ (𝜆=0.630) ของนักเรียน ครู และผู้ปกครอง 3.
ผลการประเมินรูปแบบการบริหารการศึกษาของผู้บริหารโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (¯x =4.58) ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (¯x =3.51 ขึ้นไป) ส่วนการรับรองรูปแบบพบว่า ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นรับรองร้อยละ 90.80 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 70 ขึ้นไป) จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น
The objectives of this research were: 1) to study the components of educational administration of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration, 2) to develop an educational administration model of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration, and 3) to assess and certify the educational administration model of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected from 402 samples in 67 schools by; 1) structural interviews, 2) rating-scale questionnaire, and 3) assessment form. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, confirmatory analysis, and content analysis. The results of the study were found that: 1. The components of educational administration of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration consist of 2 main components and 11 sub-components. The first main component consists of 4 sub-components; 1) Academic Administration, 2) Budget Administration, 3) Personnel Administration, and 4) General Administration. The second main component consists of 7 sub-components; 1) Lovely, 2) Respectful, 3) Praiseful, 4) Reasonable, 5) Verbal Tolerance, 6) Able to explain complicated topics and 7) To avoid frivolous talk. 2. The results of the development of educational administration of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration by using 7 principles of Kalyana Dhamma as the components had harmony and relevance with empirical data. The model validity can be concluded that Chi-square=22.96, df=15, p=0.0849, GFI=0.99, 78.00% and the administration based on Kalyana Dhamma principles = 99.1%. That can be used to explain every component of administration variance; 1. Results of main components in administration (̧œ†=0.780) consist of 4 sub-components; 1.1 Personnel Administration (̧œ†=0.862) 1.2 General Administration (̧œ†=0.792) 1.3 Academic Administration (̧œ†=0.761) 1.4 Budget Administration (̧œ†=0.705) 2. Results of main components in Kalyana Dhamma principles (̧œ†=0.991) consist of 7 sub-components; 2.1 Verbal Tolerance (̧œ†=0.943), 2.2 Reasonable (̧œ†=0.942), 2.3 Praiseful (̧œ†=0.933), 2.4 Able to explain complicated topics (̧œ†=0.871), 2.5 To avoid frivolous talk (̧œ†=0.820), 2.6 Lovely for colleagues and companions (̧œ†=0.741), and 2.7 Respectful for students, teachers, and parents (̧œ†=0.630). 3. The assessment results of the educational administration model of administrators in Buddhist based schools under Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration were at the high level overall (℗¯x =4.58) above the set criteria at (℗¯x =3.51+). The model was certified by the experts at 90.80% above the set criteria at 70.00%
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จำนวน 199 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยโรงเรียน และครู จำนวน 732 รูป/คน เครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบหลัก11 องค์ประกอบย่อย 89 ตัวแปร 2) รูปแบบที่สร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าสถิติไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีความความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีค่าน้ำหนักขององค์ประกอบหลัก มีค่าระหว่าง 0.86-1.01 องค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.74-0.97 และตัวแปรมีค่าระหว่าง 0.60-0.84 3) ผลประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 รูป/คน พบว่า ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 (X ̅ = 4.41) อยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่กำหนด
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา 3) เพื่อประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จำนวน 199 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยโรงเรียน และครู จำนวน 732 รูป/คน เครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินและรับรอง โดยแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาองค์ประกอบของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จากแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ และสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบหลัก11 องค์ประกอบย่อย 89 ตัวแปร 2) รูปแบบที่สร้างขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่าสถิติไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีความความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีค่าน้ำหนักขององค์ประกอบหลัก มีค่าระหว่าง 0.86-1.01 องค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.74-0.97 และตัวแปรมีค่าระหว่าง 0.60-0.84 3) ผลประเมินและรับรองจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 17 รูป/คน พบว่า ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41 (X ̅ = 4.41) อยู่ในระดับมาก ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่กำหนด
The objectives of this research are: 1) to study components of human resource management of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section, 2) to create a model of human resource of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section, and 3) to evaluate and to affirm the model of human resource of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section. The mixed research methodology is used in the study. The data were collected from 732 samples consisting of school directors, vice-directors, and teachers in 199 Phrapariyattidhamma Schools, General Education Section through 5-rating scale questionnaires with reliability at 0.97, semi-structured interviews, and evaluation forms. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and EFA. The results of this research revealed that : 1) The components of human resource management of administrarors in Phrapariyattidhamma School, General Education Section, consist of 4 main components, 11 components and 89 variables. 2) The created model is compatible with empirical data at Chi-square Mean/Degree of Freedom (CMIN/DF), Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA), The Goodness of Fit Index (GFI), and The Adjusted Goodness of Fit Index (AGFI) in accordance with the decided criteria, main factor score between 0.86-1.01, minor factor score between 0.74-0.97, and the variable score between 0.60-0.84 3) The evaluation results from 17 experts in propriety, accuracy, feasibility, and utility were at 4.41 level overall that was higher.