Search results

2 results in 0.02s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ 2) ตรวจสอบความสอดคล้องและกลมกลืนของตัวแบบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) สร้างและประเมินคู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การวิจัย 420 รูป/คน สัมภาษณ์ 5 รูป/คน และผู้ทรงคุณวุฒิ 9 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินคู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการทดสอบสหสัมพันธ์แบบลำดับที่สำหรับความสอดคล้องกันในการตัดสินใจพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า: 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 20 ตัวบ่งชี้ 2. ผลการตรวจสอบความสอดคล้องและกลมกลืนของโมเดลพบว่า χ2 = 178.398, df = 92, P-Value = 0.087, CFI=0.937, TLI = 0.926, RMSEA = 0.063, SRMR = 0.048 และโมเดลมีความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) และมีค่าความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้าง (Construct Reliability : C.R.) เท่ากับ 0.988 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.60 แสดงว่าโมเดลมีความสอดคล้องและกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. คู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
ดุษฎีนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ 2) ตรวจสอบความสอดคล้องและกลมกลืนของตัวแบบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) สร้างและประเมินคู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การวิจัย 420 รูป/คน สัมภาษณ์ 5 รูป/คน และผู้ทรงคุณวุฒิ 9 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินคู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการทดสอบสหสัมพันธ์แบบลำดับที่สำหรับความสอดคล้องกันในการตัดสินใจพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า: 1. องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 20 ตัวบ่งชี้ 2. ผลการตรวจสอบความสอดคล้องและกลมกลืนของโมเดลพบว่า χ2 = 178.398, df = 92, P-Value = 0.087, CFI=0.937, TLI = 0.926, RMSEA = 0.063, SRMR = 0.048 และโมเดลมีความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) และมีค่าความเชื่อมั่นเชิงโครงสร้าง (Construct Reliability : C.R.) เท่ากับ 0.988 ซึ่งมีค่ามากกว่า 0.60 แสดงว่าโมเดลมีความสอดคล้องและกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. คู่มือการใช้องค์ประกอบและตัวบ่งชี้พุทธบูรณาการการบริหารเพื่อความเป็นเลิศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก
The objectives of this dissertation were as follows 1) to study the factors and indicators of the Buddhist integrated model of administration towards excellence of Mahamakut Buddhist University, 2) test the adequacy of the model against the empirical data and construct, 3) create and assess the operation manual of the said model. The samples were totally 420 in number, together with 5 interviews and 9 consults. The rating scale questionnaire was employed for data collection, interview form and the test form was implemented for testing the factors and indicators. The statistical devices such as percentage, mean and standard deviation were used for data analysis, and for reliability and validity of the data, the exploratory, confirmatory, and ordinal correlation analyses for testing consistence in multi-lateral decision were also practiced. The results of research were found that: 1. The factors and indicators of the Buddhist integrated model of administration towards excellence of Mahamakut Buddhist University comprised 4 factors and 20 indicators. 2. The test of consistency of the model displayed χ2 = 178.398, df = 92, P-Value = 0.087, CFI = 0.937, TLI = 0.926, RMSEA = 0.063, SRMR = 0.048, and the structural validity and reliability existed (C.R.) at 0.988 exceeding 0.60, that featured the consistency with the empirical data. 3. The operation manual of the said model was found to show its usability at the ‘MUCH’ level.