Search results

2 results in 0.02s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือครูที่ทำการสอนในโรงเรียนสังกัดองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 30,359 ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 660 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 52 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.73-1.48 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.67-1.72 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.37 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเหมาะสมของตัวบ่งชี้เพื่อคัดสรรไว้ในโมเดล 2) ทดสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3) ตรวจสอบค่าน้ำหนักองค์ประกอบขององค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย และตัวบ่งชี้ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือครูที่ทำการสอนในโรงเรียนสังกัดองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 30,359 ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจำนวน 660 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยโปรแกรมสำเร็จรูปมีผลการวิจัยเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยที่กำหนดไว้ คือ 1) ตัวบ่งชี้ที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 52 ตัวบ่งชี้มีความเหมาะสมตามเกณฑ์ที่กำหนด คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 และค่าสัมประสิทธิ์การกระจายเท่ากับหรือต่ำกว่า 20% จึงได้รับการคัดสรรไว้ในโมเดลทุกตัว 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีและผลงานวิจัยมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (CMIN/DF) ค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) ค่าดัชนีวัดความกลมกลืนที่ปรับแล้ว (AGFI) ค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงเปรียบเทียบ (CFI) และค่าดัชนีความสอดคล้องเชิงปทัสถาน (NFI) เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด ทั้งในการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับหนึ่งและอันดับสอง และ 3) ค่าน้ำหนักองค์ประกอบหลักมีค่าระหว่าง 0.73-1.48 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.70 ค่าน้ำหนักองค์ประกอบย่อยมีค่าระหว่าง 0.67-1.72 และค่าน้ำหนักตัวบ่งชี้มีค่าระหว่าง 0.68-1.37 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ 0.30
The objectives of this research were to 1) study the appropriateness of the indicators for selection in the model, 2) test the fitness of the model developed from theory and research with the empirical data, and 3) verify the factor loading value of the major components, minor components and indicators. The research population was 30,359 teachers under the jurisdiction of the local administration. Data were collected by using a set of rating scale questionnaires from 660 randomly selected multistage random sampling. Data analysis was done by statistical program. The results of the research were based on the research hypotheses: 1) The 52 indicators used in the study were suitable for the criteria as mean equal to or higher than 3.00 and distribution coefficients equal to or less than 20%. All were selected in the model. 2) Models developed from theory and research were fit with empirical data by the value of relative Chi-square (CMIN/DF), root mean square error of approximation (RMSEA), goodness-of-fit index (GFI) adjusted goodness-of-fit index (AGFI), Comparative Fit Index (CFI), and normed fit index (NFI) were in accordance with the criteria from both of the first order and the second order of confirmative factor analysis, and 3) the major components had factor loading ranged from 0.73 to 1.48, which is higher than the criterion as 0.70. The minor components had factor loading between 0.67 to 1.72 and indicators had factor loading ranged from 0.68 to 1.37, which are higher than the criterion as 0.30.
หนังสือ

    การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอนาคตภาพการบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในทศวรรษหน้า ใช้เทคนิคการวิจัยเชิงอนาคต (Ethnographic Delphi Futures Research) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า อนาคตภาพการบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในทศวรรษหน้ามี 6 ด้าน มี 64 ตัวแปร มีแนวการบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในทศวรรษหน้าคือ 1) ด้านการวางแผนรับนักศึกษาและการผลิตบัณฑิต เป้าหมายจำนวนรับนักศึกษาการวางแผนรับนักศึกษาใหม่ต้องมีกลุ่มเป้าหมายหลากหลาย เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้สนใจปฏิบัติธรรม โดยการจัดทำหลักสูตรระยะสั้น 2) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในระบบการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การปฏิบัติการจะคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายเป็นหลัก ปรับรูปแบบกิจกรรมมุ่งสู่วิถีชีวิตแนวใหม่ 3) ด้านการประเมินผล ประเมิน ต้องมีหลักเกณฑ์และวิธีการที่ชัดเจน สมเหตุสมผล เชื่อถือได้ มีความโปร่งใส และมีมาตรฐานเดียวกัน 4) ด้านการเรียนรู้ ที่เน้นการบูรณาการหลายศาสตร์ และประยุกต์พุทธธรรมกับศาสตร์สมัยใหม่ เน้นสาระเนื้อหาพระพุทธศาสนาที่สนองตอบและสามารถนำไปประยุกต์รับใช้สังคมมากขึ้น 5) ด้านการประกันคุณภาพการเรียนการสอน ส่งเสริม พัฒนาและประเมินประสิทธิภาพการดำเนินงานของระบบประกันคุณภาพ เน้นการปฏิบัติงานวิจัย การให้บริการวิชาการ การจัดการเรียนการสอน ที่เป็นระบบผสมผสาน และ6) ด้านการพัฒนาปรับปรุงการบริหารวิชาการ การบริหารวิชาการมหาวิทยาลัยสงฆ์ต้องมีความยืดหยุ่นทางเศรษฐกิจและสังคม
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอนาคตภาพการบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในทศวรรษหน้า ใช้เทคนิคการวิจัยเชิงอนาคต (Ethnographic Delphi Futures Research) เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่ามัธยฐาน ค่าฐานนิยม ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า อนาคตภาพการบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในทศวรรษหน้ามี 6 ด้าน มี 64 ตัวแปร มีแนวการบริหารงานวิชาการของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในทศวรรษหน้าคือ 1) ด้านการวางแผนรับนักศึกษาและการผลิตบัณฑิต เป้าหมายจำนวนรับนักศึกษาการวางแผนรับนักศึกษาใหม่ต้องมีกลุ่มเป้าหมายหลากหลาย เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้สนใจปฏิบัติธรรม โดยการจัดทำหลักสูตรระยะสั้น 2) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในระบบการศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การปฏิบัติการจะคำนึงถึงกลุ่มเป้าหมายเป็นหลัก ปรับรูปแบบกิจกรรมมุ่งสู่วิถีชีวิตแนวใหม่ 3) ด้านการประเมินผล ประเมิน ต้องมีหลักเกณฑ์และวิธีการที่ชัดเจน สมเหตุสมผล เชื่อถือได้ มีความโปร่งใส และมีมาตรฐานเดียวกัน 4) ด้านการเรียนรู้ ที่เน้นการบูรณาการหลายศาสตร์ และประยุกต์พุทธธรรมกับศาสตร์สมัยใหม่ เน้นสาระเนื้อหาพระพุทธศาสนาที่สนองตอบและสามารถนำไปประยุกต์รับใช้สังคมมากขึ้น 5) ด้านการประกันคุณภาพการเรียนการสอน ส่งเสริม พัฒนาและประเมินประสิทธิภาพการดำเนินงานของระบบประกันคุณภาพ เน้นการปฏิบัติงานวิจัย การให้บริการวิชาการ การจัดการเรียนการสอน ที่เป็นระบบผสมผสาน และ6) ด้านการพัฒนาปรับปรุงการบริหารวิชาการ การบริหารวิชาการมหาวิทยาลัยสงฆ์ต้องมีความยืดหยุ่นทางเศรษฐกิจและสังคม
The purpose of this study was to study the future image of academic administration of Buddhist Universities in the next decade, using Ethnographic Delphi Futures Research. The used tools were questionnaires and in-depth interviews. The data were analyzed by using median, baseline, interquartile range, using packaged programs and content analysis. The results showed that: The future vision of academic administration of Buddhist universities in the next decade consisted of 6 aspects with 64 variables. There were guidelines for academic administration of Buddhist universities in the next decade, namely: 1) In terms of planning for student admissions and producing graduates, the target number of student admissions planning for new students should have a variety of target groups, such as the elderly, group of people interested in dharma practice by creating a short course; 2) In terms of teaching and learning activities, the non-formal education system, and informal education operations would mainly take into account the target audience, and adjust the activities to lead to a new way of life; 3) In terms of assessment, there should be clear, reasonable, reliable, transparent rules and procedures. and have the same standards; 4) In terms of learning, there would focus on the integration of multiple sciences and apply Buddhism to modern science, and emphasis on the content of Buddhism that is responsive and can be applied to serve society; 5) In terms of teaching and learning quality assurance, there should promote, develop and evaluate the operational efficiency of the quality assurance system, and emphasis on research practice academic service teaching management which was a mixed system; and 6) the development and improvement of academic administration academic administration of university disciplines required economic and social flexibility