Search results

63 results in 0.08s

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาแรงงานทางทะเล 2) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาแรงงานทางทะเลในเขตท่าเรือศรีราชา 3) เพื่อวิเคราะห์เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาแรงงานทางทะเลที่เหมาะสม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัยสภาพปัญหาแรงงานทางทะเลของเรือสินค้าที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมในเรื่องของการจ้างงาน และสภาพความเป็นอยู่ระหว่างการเรียกร้องค่าจ้างจากเจ้าของเรือ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการวิจัยทางเอกสาร ( Document Research) โดยศึกษาจากหนังสือ วิทยานิพนธ์ บทความ เอกสาร ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศโดยการนำพระราชบัญญัติแรงงานทางทะเล พ.ศ. 2558 และอนุสัญญาว่าด้วยแรงงานทางทะเล ค.ศ.2006 เป็นกรอบในการวิเคราะห์ เนื่องจากเป็นแม่บทหลักในการปฏิบัติกรณีเกิดปัญหาแรงงานทางทะเล ผลการวิจัยพบว่า 1.ปัญหาที่เกิดขึ้นในเขตท่าเรือศรีราชาส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นกับเรือสินค้าที่ชักธงชาติอื่นที่ ไม่ใช่ธงประเทศไทย และปัญหาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาเรื่องการค้างจ่ายค่าจ้างคนประจำเรือ และปัญหาการส่งตัวกลับ ซึ่งปัญหาเหล่านี้มีความเชื่อมโยงกับปัญหาอื่นด้วยเช่น ปัญหาเรื่องสภาพที่อยู่อาศัยบนเรือของคนประจำเรือ ปัญหาเรื่องชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานและชั่วโมงการพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ ปัญหาเรื่องอาหาร และน้ำดื่มที่ไม่เพียงพอ ไม่ถูกสุขลักษณะ รวมถึงปัญหาด้านความปลอดภัยที่ไม่ได้มาตรฐานบนเรือ 2) การเลือกจดทะเบียนเรือ และการถือสัญชาติของเรือเป็นสาเหตุหนึ่งในการเกิดปัญหา ซึ่งการจดทะเบียนเรือนี้มี 2 แบบ คือ การจดทะเบียนเรือแบบเปิด ( Open Registry) และการจดทะเบียนเรือแบบปิด (Close Registry) ซึ่งการจดทะเบียนเรือแบบปิดจะกำหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับและมาตรการต่างๆให้เจ้าของเรือต้องปฎิบัติตาม ส่งผลให้เจ้าของเรือบางส่วนต้องการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายจึงไปจดทะเบียนเรือแบบเปิดที่มีขั้นตอนการจดทะเบียนที่สะดวก ไม่เข้มงวดในเรื่องใบตรวจสภาพเรือ สามารถจ้างแรงงานราคาถูกได้ นอกจากนี้ยังสามารถลดมาตรฐานสภาพความเป็นอยู่ของคนประจำเรือได้ 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิจัยนี้ คือ องค์กรระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ (UN) , องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (IMO) , องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ควรกำหนดมาตรการที่เคร่งครัดเกี่ยวกับการจดทะเบียนเรือ และควรกำหนดบทลงโทษที่ชัดเจนกับเจ้าของเรือที่ไม่ปฎิบัติตามข้อบังคับ และรัฐเจ้าของธงที่ปล่อยละเลยให้เรือที่ชักธงประเทศตนไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับ นอกจากนี้องค์กรภาครัฐ หรือหน่วยงานที่มีอำนาจ (Competent authority) ควรให้ความสนใจเกี่ยวกับปัญหาแรงงานทางทะเลในด้านต่างๆมากขึ้น รวมถึงสร้างเครือข่ายกับองค์กรเอกชน อุตสาหกรรมเรือ รวมถึงคนประจำเรือ เพื่อหาข้อมูล มาศึกษาเพื่อหาแนวทางป้องกันปัญหา
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาแรงงานทางทะเล 2) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาแรงงานทางทะเลในเขตท่าเรือศรีราชา 3) เพื่อวิเคราะห์เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาแรงงานทางทะเลที่เหมาะสม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัยสภาพปัญหาแรงงานทางทะเลของเรือสินค้าที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมในเรื่องของการจ้างงาน และสภาพความเป็นอยู่ระหว่างการเรียกร้องค่าจ้างจากเจ้าของเรือ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เน้นการวิจัยทางเอกสาร ( Document Research) โดยศึกษาจากหนังสือ วิทยานิพนธ์ บทความ เอกสาร ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศโดยการนำพระราชบัญญัติแรงงานทางทะเล พ.ศ. 2558 และอนุสัญญาว่าด้วยแรงงานทางทะเล ค.ศ.2006 เป็นกรอบในการวิเคราะห์ เนื่องจากเป็นแม่บทหลักในการปฏิบัติกรณีเกิดปัญหาแรงงานทางทะเล ผลการวิจัยพบว่า 1.ปัญหาที่เกิดขึ้นในเขตท่าเรือศรีราชาส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นกับเรือสินค้าที่ชักธงชาติอื่นที่ ไม่ใช่ธงประเทศไทย และปัญหาที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาเรื่องการค้างจ่ายค่าจ้างคนประจำเรือ และปัญหาการส่งตัวกลับ ซึ่งปัญหาเหล่านี้มีความเชื่อมโยงกับปัญหาอื่นด้วยเช่น ปัญหาเรื่องสภาพที่อยู่อาศัยบนเรือของคนประจำเรือ ปัญหาเรื่องชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานและชั่วโมงการพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ ปัญหาเรื่องอาหาร และน้ำดื่มที่ไม่เพียงพอ ไม่ถูกสุขลักษณะ รวมถึงปัญหาด้านความปลอดภัยที่ไม่ได้มาตรฐานบนเรือ 2) การเลือกจดทะเบียนเรือ และการถือสัญชาติของเรือเป็นสาเหตุหนึ่งในการเกิดปัญหา ซึ่งการจดทะเบียนเรือนี้มี 2 แบบ คือ การจดทะเบียนเรือแบบเปิด ( Open Registry) และการจดทะเบียนเรือแบบปิด (Close Registry) ซึ่งการจดทะเบียนเรือแบบปิดจะกำหนดกฎระเบียบ ข้อบังคับและมาตรการต่างๆให้เจ้าของเรือต้องปฎิบัติตาม ส่งผลให้เจ้าของเรือบางส่วนต้องการลดต้นทุนค่าใช้จ่ายจึงไปจดทะเบียนเรือแบบเปิดที่มีขั้นตอนการจดทะเบียนที่สะดวก ไม่เข้มงวดในเรื่องใบตรวจสภาพเรือ สามารถจ้างแรงงานราคาถูกได้ นอกจากนี้ยังสามารถลดมาตรฐานสภาพความเป็นอยู่ของคนประจำเรือได้ 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิจัยนี้ คือ องค์กรระหว่างประเทศ เช่น องค์การสหประชาชาติ (UN) , องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (IMO) , องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ควรกำหนดมาตรการที่เคร่งครัดเกี่ยวกับการจดทะเบียนเรือ และควรกำหนดบทลงโทษที่ชัดเจนกับเจ้าของเรือที่ไม่ปฎิบัติตามข้อบังคับ และรัฐเจ้าของธงที่ปล่อยละเลยให้เรือที่ชักธงประเทศตนไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับ นอกจากนี้องค์กรภาครัฐ หรือหน่วยงานที่มีอำนาจ (Competent authority) ควรให้ความสนใจเกี่ยวกับปัญหาแรงงานทางทะเลในด้านต่างๆมากขึ้น รวมถึงสร้างเครือข่ายกับองค์กรเอกชน อุตสาหกรรมเรือ รวมถึงคนประจำเรือ เพื่อหาข้อมูล มาศึกษาเพื่อหาแนวทางป้องกันปัญหา
The purposes of this study were : 1) to study the problems of maritime labour 2) to study the problem of maritime labour in Sriracha Port 3) to analyze and suggest a suitable solution to the problems of maritime labour by defining the scope of research on the condition of maritime labour of merchant ships that are not fair in terms of employment and living conditions during the claim for wages from the ship-owner. It is a qualitative research. Emphasis on document research by studying book, thesis, articles, documents in both Thai and foreign languages by applying the Maritime Labour Act. B.E. 2558 and Maritime Labour Convention 2006 as a framework for analyze as it is the main principle in the case of maritime labour problems. Based on the findings, it was concluded that ; 1) The most of problem in Sriracha Port will occur with other flags carry on board that are not Thai flags, moreover, there will be a problem of Seafarers’ wages arrears and repatriation problems. These problems are related to other issues as well, such as Problems with living conditions on ships, regulated hours of works more than hours of rest , food and drinking water are not appropriate quality including non- standard security issues. 2) One of the main reasons for the problem of seafarer is arising from the selection and registration of the vessel that is to say Open Registry offers better benefits than Close Registry because Close Registry will defined the rules , regulation and protocol for ship- owner to follow. As a result, some ship – owners want to reduce the costs, so they go to register their Open authorities nonetheless, Open registry will set convenient process, not strict in ship s inspecting certificate can hire cheap labour nonetheless, it can also reduce the standard of living conditions for Seafarers. 3) Recommendation on research : International organization such as IMO,UN , ILO should establish protocol related to the registration of ships and should impose sanctions on ship owners who not comply with the regulations. In addition, competent authorities should pay more attention to the problem of seafarers including building networks with private organization,ship industry including seafarers to find more information to study and find ways to prevent problems.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการตัดสินใจสมัครเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจของแรงงานนอกระบบในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลกับการตัดสินใจสมัครเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจของแรงงานนอกระบบในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางต่อการตัดสินใจสมัครเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจของแรงงานนอกระบบในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ โดยการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นกลุ่มผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่อยู่ในระบบประกันสังคมในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 394 คน ซึ่งได้จากการกำหนดโดยใช้สูตรของ Taro Yamane ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (𝑥̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่า t-test ค่า F-test และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One –Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 51-59 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี โดยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง/รับเหมา และมีรายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 3,001 - 6,000 บาท 2. ความคิดเห็นที่มีต่อการตัดสินใจเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจของแรงงานนอกระบบ ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านช่องทางการชำระเงินสมทบ รองลงมาคือ ด้านวิธีการสมัครเป็นผู้ประกันตน, ด้านอัตราเงินสมทบ และ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ด้านสิทธิประโยชน์ทดแทน 3. ผลการเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับความคิดเห็นต่อการตัดสินใจสมัครเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจของแรงงานนอกระบบ พบว่าผู้ประกันตนตามภาคสมัครใจ ที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการตัดสินใจเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจ โดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน จึงไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ผู้ประกันตนตามภาคสมัครใจ ที่มีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการตัดสินใจเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจ โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 4.
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการตัดสินใจสมัครเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจของแรงงานนอกระบบในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลกับการตัดสินใจสมัครเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจของแรงงานนอกระบบในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางต่อการตัดสินใจสมัครเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจของแรงงานนอกระบบในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ โดยการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นกลุ่มผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ที่อยู่ในระบบประกันสังคมในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 394 คน ซึ่งได้จากการกำหนดโดยใช้สูตรของ Taro Yamane ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (𝑥̅) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่า t-test ค่า F-test และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One –Way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 51-59 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี โดยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง/รับเหมา และมีรายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 3,001 - 6,000 บาท 2. ความคิดเห็นที่มีต่อการตัดสินใจเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจของแรงงานนอกระบบ ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุด พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านช่องทางการชำระเงินสมทบ รองลงมาคือ ด้านวิธีการสมัครเป็นผู้ประกันตน, ด้านอัตราเงินสมทบ และ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ด้านสิทธิประโยชน์ทดแทน 3. ผลการเปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับความคิดเห็นต่อการตัดสินใจสมัครเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจของแรงงานนอกระบบ พบว่าผู้ประกันตนตามภาคสมัครใจ ที่มีเพศต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการตัดสินใจเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจ โดยรวมทั้ง 4 ด้าน ไม่แตกต่างกัน จึงไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ ผู้ประกันตนตามภาคสมัครใจ ที่มีอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการตัดสินใจเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจ โดยรวมทั้ง 4 ด้าน แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ 4.
ข้อเสนอแนะแนวทางต่อการตัดสินใจสมัครเป็นผู้ประกันตนภาคสมัครใจของแรงงานนอกระบบในพื้นที่ิอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ ด้านสิทธิประโยชน์ คือ ควรเพิ่มการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อในทุก ๆ ด้าน ควรมีการอบรมเครือข่ายประกันสังคมเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิทธิประโยชน์กรณีต่าง ๆ แก่ผู้ประกันตน แรงงานนอกระบบและผู้ที่มีความเกี่ยวข้อง ควรเพิ่มสิทธิประโยชน์ให้มากขึ้นเทียบเท่ากับสิทธิประโยชน์ของผู้ประกันตนตามมาตรา 33 และ 39 ด้านวิธีการสมัครเป็นผู้ประกันตน คือ ต้องการให้มีเครือข่ายรับสมัครประกันสังคมมากขึ้น ต้องการให้สามารถสมัครผ่านอาสาสมัครแรงงาน(อสร.) และ จุดบริการอื่นนอกจากสำนักงานประกันสังคม ด้านช่องทางการชำระเงินสมทบ คือ ต้องการให้สามารถชำระเงินสมทบย้อนหลังได้ ต้องการให้มีข้อความ SMS แจ้งการชำระเงินสมทบ เพิ่มช่องทางการชำระเงินสมทบผ่าน Online Banking หรือแอปพลิเคชั่นของธนาคาร ด้านอัตราเงินสมทบ คือ ต้องการให้ลดอัตราเงินสมทบลงอีก ต้องการให้เพิ่มทางเลือกในอีกอัตราเงินสมทบที่สูงขึ้นเพื่อรองรับกลุ่มแรงงานนอกระบบที่มีรายได้สูง
The objectives of this research were as follows: 1) to study the opinions towards the decision in applying for voluntary insurers of informal workers in Mueang district of Samut Prakan province, 2) to compare opinions on personal factors in decision-making to apply for voluntary insurers of informal workers in Mueang district of Samut Prakan province, and 3) to suggest guidelines for the decision in applying for voluntary insurers of informal workers in Mueang district of Samut Prakan province. The data of this quantitative research were collected by questionnaires from 394 samples of insured persons under section 40 in the social security system in Mueang district of Samut Prakan province. The samples were obtained by using the Taro Yamane formula. The data were analyzed by frequency, percentage, mean (̧‘ÆÌ…), standard deviation (S.D.), t-test, F-test, and one-way variance test (One-Way ANOVA). The study results showed that: 1. Most of the respondents were female at the age from 51 to 59 years with a bacheloŕ€™s degree. They worked as contractors with monthly income from 3001 to 6000 baht. 2. The opinion towards the decision to become voluntary insurers of informal workers in the area of Mueang district of Samut Prakan province in all 4 aspects was at a high level overall. When considering each aspect in descending order, the highest mean was on contribution payment method, followed by method of applying to be an insured person, contribution rate, and compensation benefits respectively. 3. Comparison results of personal factors and opinions towards the decision to apply for the voluntary insured of informal workers in Muang district of Samut Prakan province indicated that; the different statistical figure was not found in the voluntary insurers with different sexes as the hypothesis set, but the difference was found from those samples with different age, education level, occupation, and monthly income with a significantly statistical figure at the 0.05 level in accordance with the hypothesis set. 4. The suggested guidelines for the decision in applying for voluntary insurers of informal workers in Mueang district of Samut Prakan province were that; In compensation benefits, public relations through the media in every aspect should be increased, social security network training should be conducted to create knowledge and understanding about benefits in various cases to the insured informal workers and related persons, the benefits should be increased to the equal level of the benefits of the insured under Sections 33 and 39. In the method of applying, there should be more social security recruitment networks, the application should be accessed through the Labor Volunteer (PSU) and other service points besides the Social Security Office. In the Contribution payment method, it should be able to pay contributions retroactively, have an SMS message informing the payment of contributions, and have payment channels for contributions via Online Banking or the bank's application. In the contribution rate, the contribution rate should be reduced, and at the same time, another option for higher contribution rates should be added to support high-income informal workers.
หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทนำ
  • มอญในเอเชียตะวันแแกเฉียงใต้
  • ชีวิตในดินแดนใหม่
  • สภาพทั่วไปในชุมนุมชนมอญ
  • การเดินทางและการเรียนรู้
  • อภิปายและบทสรุป
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ