Search results

729 results in 0.09s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • แนะนำพฤติกรรมองค์การ
  • วัฒนธรรมองค์การ
  • ความแตกต่างระหว่างบุคคลและพฤติกรรมการทำงาน
  • การรับรู้ เหตุผล และอารมณ์
  • แรงจูงใจ
  • แบบของงานและการทำงาน
  • การประเมินผลข้อมูลย้อนกลับและรางวัล
  • กลุ่มและทีม
  • การจัดการความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
  • อำนาจ การเมือง และการสร้างพลัง
  • การสื่อสาร
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • 1.มโนทัศน์ ธรรมชาติ และมุมมองในอดีตของพฤติกรรมองค์การ
  • 2.พลวัตกลุ่มและการสร้างอาชีพ
  • 3.การบริหารตนเองและการบริหารการศึกษา
  • 4.พฤติกรรมผู้นำ
  • 5.รูปแบบภาวะผู้นำ
  • 6.ภาวะผู้นำแบบแปรรูปในการบริหารการศึกษา
  • 7.การตัดสินใจ
  • 8.การจัดการความขัดแย้ง
  • 9.ความหมายและความสัมพันธ์ของการสื่อสารในการบริหารการศึกษา
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ภาคที่ 1 ปรัชญาและประวัติศาสตร์ของทฤษฎีองค์การ - บทที่ 1 ธรรมชาติของสังคมศาสตร์
  • บทที่ 2 รูปแบบและพาราไดม์ทางสังคมศาสตร์
  • บทที่ 3 ทฤษฎีองค์การ
  • บทที่ 4 ประวัติศาสตร์ของทฤษฎีองค์การ
  • ภาคที่ 2 แนวคิดในทฤษฎีองค์การ
  • บทที่ 5 ทฤษฎีองค์การคลาสสิก
  • บทที่ 6 ทฤษฎีองค์การนีโอคลาสสิค
  • บทที่ 7 ทฤษฎีทรัพยากรมนุษย์หรือมุมมองพฤติกรรมองค์การ
  • บทที่ 8 ทฤษฎีองค์การโครงสร้างสมัยใหม่
  • บทที่ 9 ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์องค์การ
  • บทที่ 10 ทฤษฎีอำนาจและการเมือง
  • บทที่ 11 ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์การ
  • บทที่ 12 การปฏิรูปโดยการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ
  • บทที่ 13 ทฤษฎีองค์การและสภาพแวดล้อม
  • ภาคที่ 3 ภาคปฏิบัติและทิศทางใหม่ในทฤษฎีองค์การ
  • บทที่ 14 การนำทฤษฎีองค์การไปปฏิบัติ
  • บทที่ 15 การเปลี่ยนแปลงองค์การ
  • บทที่ 16 ทิศทางใหม่ในทฤษฎีองค์การ
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความเหมาะสมของตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้าง 2) เพื่อทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับพฤติกรรมตัวบ่งชี้ของแต่ละตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับตัวบ่งชี้ของแต่ละองค์ประกอบย่อย และโมเดลในระดับองค์ประกอบย่อยของวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง 3) เพื่อระบุองค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง และ 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้มาตรประเมินค่า 5 ระดับ ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.96 จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 640 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1.ตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบย่อย 12 ตัวบ่งชี้ และ 48 พฤติกรรมตัวบ่งชี้ จำแนกได้ดังนี้ องค์ประกอบย่อยของการคิดสร้างสรรค์ มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การคิดแก้ปัญหา 2) มีจินตนาการ 3) มีความคิดเชื่อมโยง องค์ประกอบย่อยของธรรมาภิบาล มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ความโปร่งใส 2) ความรับผิดชอบ 3) การมีส่วนร่วม องค์ประกอบย่อยของการทำงานเป็นทีม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) รับผิดชอบร่วมกัน 2) มีเป้าหมายเดียวกัน 3) มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน องค์ประกอบย่อยของนวัตกรรม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลง 2) การคิดค้น 3) การทดลอง โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยที่เหมาะสมตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 2.โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าไค-สแควร์ (2 ) เท่ากับ 82.18 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 42 ("χ" ^"2" /df =1.95) และค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.98 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.96 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.039 3.องค์ประกอบย่อยมีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้มีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมบ่งชี้ 4.นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มาบูรณาการเข้ากับศาสตร์สมัยไหม่ พร้อมกับยึดคติพจน์ของมหาวิทยาลัย คือ ระเบียบ สามัคคี บำเพ็ญประโยชน์ มาเป็นกรอบในการพัฒนา
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความเหมาะสมของตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้าง 2) เพื่อทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับพฤติกรรมตัวบ่งชี้ของแต่ละตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับตัวบ่งชี้ของแต่ละองค์ประกอบย่อย และโมเดลในระดับองค์ประกอบย่อยของวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง 3) เพื่อระบุองค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง และ 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้มาตรประเมินค่า 5 ระดับ ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.96 จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 640 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1.ตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบย่อย 12 ตัวบ่งชี้ และ 48 พฤติกรรมตัวบ่งชี้ จำแนกได้ดังนี้ องค์ประกอบย่อยของการคิดสร้างสรรค์ มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การคิดแก้ปัญหา 2) มีจินตนาการ 3) มีความคิดเชื่อมโยง องค์ประกอบย่อยของธรรมาภิบาล มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ความโปร่งใส 2) ความรับผิดชอบ 3) การมีส่วนร่วม องค์ประกอบย่อยของการทำงานเป็นทีม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) รับผิดชอบร่วมกัน 2) มีเป้าหมายเดียวกัน 3) มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน องค์ประกอบย่อยของนวัตกรรม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลง 2) การคิดค้น 3) การทดลอง โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยที่เหมาะสมตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 2.โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าไค-สแควร์ (2 ) เท่ากับ 82.18 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 42 ("χ" ^"2" /df =1.95) และค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.98 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.96 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.039 3.องค์ประกอบย่อยมีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้มีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมบ่งชี้ 4.นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มาบูรณาการเข้ากับศาสตร์สมัยไหม่ พร้อมกับยึดคติพจน์ของมหาวิทยาลัย คือ ระเบียบ สามัคคี บำเพ็ญประโยชน์ มาเป็นกรอบในการพัฒนา
The objectives of this research were as follows: 1) to study the appropriate level of Indicators of organizational culture for personnel under Mahamakut Buddhist University for selecting as structural relationship model, 2) to test the congruence of developed model, and empirical data as specified criterion, 3) to indicate the minor factor, indicator and behavioral indicator having structural accuracy, and 4) to study the guidelines for the development of organizational culture for personnel under Mahamakut Buddhist University. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected by 5-level rating scale questionnaire with reliability coefficient 0.96 from 640 samples under Mahamakut Buddhist University obtained by stratified random sampling. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation (SD), and confirmatory factor analysis by instant statistical software. The research findings were as follows 1.The indicators of organizational culture for personnel under Mahamakut Buddhist University consisted of 4 minor factors, 12 indicators, and 48 behavioral indicators. The minor factors of creative thinking had 3 indicators; 1) problem solving, 2) imagination, and 3) linking idea. The minor factors of good governance had 3 indicators; 1) transparency, 2) responsibility, and 3) collaboration. The minor factors of teamwork had 3 indicators; 1) co-responsibility, 2) unity target, and 3) interaction. The minor factors of innovation had 3 indicators; 1) transformation, 2) invention, and 3) experiment. The average value and distribution coefficient for selecting the structural model of organizational culture indicators for personnel under Mahamakut Buddhist University was equal to or more than 3.00. 2. The elements of the model were consistent with empirical data with the Chi - Square ("χ" ^"2" ) value equaled to 82.18, the degrees of freedom (df) equaled to 42 ("χ" ^"2" /df =1.95), the goodness of fit index (GFI) was 0.98, the adjusted goodness of fit index (AGFI) was 0.96, and the Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA) was 0.039. 3.The minor factor had factor loading higher than 0.50 in very indicator. The behavioral factor had factor loading in higher level than the criterion at 0.30 in every indicator and behavioral indicator. 4.The application of Buddhist principles to integrate with modern science and also adhering to the university motto, namely regulations, unity, rendering services.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำจิตวิทยาองค์การ
  • บทที่ 2 พฤติกรรมในระดับบุคคล
  • บทที่ 3 แรงจูงใจ
  • บทที่ 4 การประยุกต์ใช้แรงจุงใจ
  • บทที่ 5 ทัศนคติต่องาน
  • บทที่ 6 ภาวะผู้นำ และทีมงาน
  • บทที่ 7 วัฒนธรรมองค์การ
  • บทที่ 8 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาองค์การ
หนังสือ

หนังสือ

    หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่กล่าวถึงการสร้างวัฒนธรรมองค์กร อย่างชัดเจนโดยเสนอแนะวิธีในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ครอบคลุมถึงการกำหนดค่านิยมขององค์กร (Core Value) การประเมินวัฒนธรรมองค์กร กลยุทธืการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร การสื่อสารเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและเทคนิคการแก้ปัญห
หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือที่กล่าวถึงการสร้างวัฒนธรรมองค์กร อย่างชัดเจนโดยเสนอแนะวิธีในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เกิดขึ้นได้อย่างแท้จริง ครอบคลุมถึงการกำหนดค่านิยมขององค์กร (Core Value) การประเมินวัฒนธรรมองค์กร กลยุทธืการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร การสื่อสารเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและเทคนิคการแก้ปัญห
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ