Search results

18 results in 0.13s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจาก สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2555
Note: รายงานการวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจาก สถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2555
หนังสือ

    วิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2557
Note: วิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ 2557
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประวัติและผลงานของพระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล) เจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่และ 2) เพื่อศึกษาบทบาทในการพัฒนาสังคมของพระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล) เจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ผู้วิจัยได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับงานวิจัยจากผู้ให้ข้อมูลหลักซึ่งประกอบด้วย 1) ผู้นำศาสนา (พระสงฆ์) 2) ข้าราชการไทยและ 3) ผู้ใหญ่บ้าน โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) และทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้โดยนำทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวิเคราะห์และตีความแล้วนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ในรูปแบบของการเขียนเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1.พระพรหมมงคล นามเดิม ทอง พรหมเสน ฉายา สิริมงฺคโล เกิดวันที่ 21 เดือนกันยายน พุทธศักราช 2466 อายุ 95 ปี พรรษา 7๕ เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฎฝ่ายวิปัสสนาธุระเจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 7 เจ้าสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดเชียงใหม่แห่งที่ 1 และประธานขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีลห้า ประจำหนเหนือ 2.บทบาทในการพัฒนาสังคมของพระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล) เจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ แบ่งออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านการปกครอง ท่านได้ใช้หลักของสัปปุริสธรรม 7 คือ เป็นผู้รู้หลักการ รู้จุดหมาย รู้ตน รู้ประมาณ รู้กาล รู้ชุมชนและรู้บุคคล ทำให้การบริหารด้านการปกครองและการบริหารงานก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ๒) ด้านการศาสนศึกษา ท่านได้ส่งเสริมการศึกษาทั้งที่เป็นส่วนของพระภิกษุสามเณรให้มีการศึกษาที่ดีมีความรู้ความสามารถในหลักพระธรรมวินัย โดยการส่งเสริมให้มีการสร้างโรงเรียน พระปริยัติและมูลนิธิเพื่อการศึกษาและในส่วนของฆราวาสได้สนับสนุนการก่อสร้างอาคารเรียนขึ้นเพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาที่ดี ๓) ด้านการเผยแผ่ ท่านมองว่าการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยการให้ได้ผลดีต้องเริ่มต้นที่ตัวบุคคลก่อน ตัวบุคคลผู้เผยแพร่หลักธรรมคำสอนนั้นต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมอย่างแจ่มแจ้งเพื่อที่จะนำไปเผยแผ่ให้แก่ผู้สนใจได้ ๔) ด้านการสาธารณูปการ ท่านเป็นนักพัฒนาที่ไม่เคยหยุดนิ่งเป็นพระที่เรียนรู้ดึงส่วนดีที่พบเห็นจากภายนอกมาปรับใช้ภายในวัดและมีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีความคิดเชิงสร้างสรรค์ ได้ดำเนินตามหลักของไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิและปัญญา เพื่อเป็นคุณธรรมในการทำงานเพื่อพัฒนาสังคมอันเป็นรากฐานแห่งความสำเร็จและ ๕) ด้านการสาธารณสงเคราะห์ ท่านได้ช่วยเหลือชุมชนอย่างต่อเนื่อง สิ่งที่ท่านไม่เคยละเลยในการสงเคราะห์สังคม คือ มุ่งหวังให้สังคมได้ปฏิบัติตามศีล 5) โดยให้เข้าถึงความหมายและนำไปปฏิบัติพัฒนาให้ถูกต้องให้เป็นประโยชน์ได้จริง ความมีน้ำใจ เผื่อแผ่ เสียสละ ใส่ใจรับฟังทุกข์สุขพร้อมที่ จะแบ่งปันช่วยเหลือ เพื่อลดความเห็นแก่ตัว เพื่อสร้างปัญญาจนสามารถแก้ปัญหานำทุกข์ให้หมดสิ้นไป
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาประวัติและผลงานของพระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล) เจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่และ 2) เพื่อศึกษาบทบาทในการพัฒนาสังคมของพระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล) เจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ผู้วิจัยได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับงานวิจัยจากผู้ให้ข้อมูลหลักซึ่งประกอบด้วย 1) ผู้นำศาสนา (พระสงฆ์) 2) ข้าราชการไทยและ 3) ผู้ใหญ่บ้าน โดยวิธีเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) และทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้โดยนำทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวิเคราะห์และตีความแล้วนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ในรูปแบบของการเขียนเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1.พระพรหมมงคล นามเดิม ทอง พรหมเสน ฉายา สิริมงฺคโล เกิดวันที่ 21 เดือนกันยายน พุทธศักราช 2466 อายุ 95 ปี พรรษา 7๕ เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฎฝ่ายวิปัสสนาธุระเจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 7 เจ้าสำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัดเชียงใหม่แห่งที่ 1 และประธานขับเคลื่อนโครงการหมู่บ้านรักษาศีลห้า ประจำหนเหนือ 2.บทบาทในการพัฒนาสังคมของพระพรหมมงคล (ทอง สิริมงฺคโล) เจ้าอาวาสวัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ แบ่งออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านการปกครอง ท่านได้ใช้หลักของสัปปุริสธรรม 7 คือ เป็นผู้รู้หลักการ รู้จุดหมาย รู้ตน รู้ประมาณ รู้กาล รู้ชุมชนและรู้บุคคล ทำให้การบริหารด้านการปกครองและการบริหารงานก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ๒) ด้านการศาสนศึกษา ท่านได้ส่งเสริมการศึกษาทั้งที่เป็นส่วนของพระภิกษุสามเณรให้มีการศึกษาที่ดีมีความรู้ความสามารถในหลักพระธรรมวินัย โดยการส่งเสริมให้มีการสร้างโรงเรียน พระปริยัติและมูลนิธิเพื่อการศึกษาและในส่วนของฆราวาสได้สนับสนุนการก่อสร้างอาคารเรียนขึ้นเพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาที่ดี ๓) ด้านการเผยแผ่ ท่านมองว่าการเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยการให้ได้ผลดีต้องเริ่มต้นที่ตัวบุคคลก่อน ตัวบุคคลผู้เผยแพร่หลักธรรมคำสอนนั้นต้องมีความรู้ความเข้าใจในหลักธรรมอย่างแจ่มแจ้งเพื่อที่จะนำไปเผยแผ่ให้แก่ผู้สนใจได้ ๔) ด้านการสาธารณูปการ ท่านเป็นนักพัฒนาที่ไม่เคยหยุดนิ่งเป็นพระที่เรียนรู้ดึงส่วนดีที่พบเห็นจากภายนอกมาปรับใช้ภายในวัดและมีการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีความคิดเชิงสร้างสรรค์ ได้ดำเนินตามหลักของไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิและปัญญา เพื่อเป็นคุณธรรมในการทำงานเพื่อพัฒนาสังคมอันเป็นรากฐานแห่งความสำเร็จและ ๕) ด้านการสาธารณสงเคราะห์ ท่านได้ช่วยเหลือชุมชนอย่างต่อเนื่อง สิ่งที่ท่านไม่เคยละเลยในการสงเคราะห์สังคม คือ มุ่งหวังให้สังคมได้ปฏิบัติตามศีล 5) โดยให้เข้าถึงความหมายและนำไปปฏิบัติพัฒนาให้ถูกต้องให้เป็นประโยชน์ได้จริง ความมีน้ำใจ เผื่อแผ่ เสียสละ ใส่ใจรับฟังทุกข์สุขพร้อมที่ จะแบ่งปันช่วยเหลือ เพื่อลดความเห็นแก่ตัว เพื่อสร้างปัญญาจนสามารถแก้ปัญหานำทุกข์ให้หมดสิ้นไป
The objectives of this ethnographical research are 1) to study the history and work of PHRAPHROMMONGKON (Thong Sirimangkalo), the abbot of Wat Phrathat Sri Chomthong, Worabihan, Chomthong District, Chiang Mai Province, and 2) to study the role of social development of PHRAPHROMMONGKON (Thong Sirimangkalo), Abbot of Wat Phrathat Sri Chomthong, Worabihan, Chomthong District, Chiang Mai Province. The researcher collected data from the main contributors, who consisted of 1) religious leaders (monks) 2) Thai government officers and 3) village heads by using the purposive Sampling method and all data from key information provider (Key Informants) were then analyzed by applying relevant theories and previous research to interpret and present as the data analysis results in the form of descriptive writing. The research found that 1.PHRAPHROMMONGKON, the original name was Thong Promsen, ordination name: Sirimangkalo, was born on 21 September, BE. 2466, aged 95 years old, 75 years in monastic. PHRAPHROMMONGKON was a vice deputy for Vipassana business and the Abbot of Wat Phrathat Sri Chomthong Worabihan. He also worked as a consultant of the Region 7 Primate, Chiang Mai Provincial Meditation Bureau 1 and the President of the Five Sacrament Village Project of the Northern Area. 2.The role of social development of PHRAPHROMMONGKON (Thong Sirimangkalo), the abbot of Wat Phrathat Sri Chomthong, Worabihan, Chomthong District, Chiang Mai Province, is divided into 5 areas: 1) Area of Government Administration, The principles of the Sappurisadhamma 7 have been used, which is about one person who knows the principles, knows the destination, knows oneself, knows the balance of life, knows the right time, knows the community and knows people. This is the way to enabling and supporting the administration of community and general administration in a government office that can progress effectively. 2) Area of Religious Education Monks and novice has been promoted a good education, knowledge, and ability in the principles of the discipline. By encouraging the creation of Phrapariyat schools and the Foundation for Education and the secular section have supported the construction of school buildings for children and youth to receive a good education. 3) Area of Propagation. He viewed that propagating Buddhism by giving good results had to start at oneself. The person who publishes Buddhist doctrine must have the knowledge and clear understanding. The principles of the teachings of Buddhism that people have studied and fully understood and then spread to the society. When people understand Buddhism principles, then they can apply that principle for their daily life. 4) Area of Public Facilities He is a developer who has never stopped and also adapted good parts that have seen from the outside to use within the temple as the worth resources. The principles of the threefold teaching as Trisikkha 3, consisted of maintained precepts, doing meditation, and practice for wisdom as a virtue in working for social development which is the foundation of success. 5) Area of Public Welfare He has continuously helped the community where intended for the society and comply Five precepts by giving access with the real meaning. There is generosity, sacrifice, caring, listening to the happiness of people ready to share. This can help to reduce selfishness in order to create intelligence that can solve problems and suffering.