Search results

12 results in 0.13s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาการเรียนรู้พระพุทธศาสนากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551, 2. เพื่อศึกษาสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามทัศนะของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2, และ 3. เพื่อวิเคราะห์สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามทัศนะของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2, การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และคุณภาพซึ้งเน้นการวิจัยทางเอกสารโดยศึกษาจากพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐและจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยปรากฏว่า ความหมายและความสำคัญของหลักสูตรมีความสำคัญมากต่อการเรียนการสอนความรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ทำให้ทราบความสำคัญและความจำเป็นที่เราจะต้องศึกษาให้เข้าใจ และฝึกการใช้ให้ชำนาญตามหลักการของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะการศึกษาพุทธวิธีการสอนตามแนวทางในพระไตรปิฎกนั้น สามารถนำไปเป็นความรู้และแนวทางในการศึกษาวิเคราะห์ทัศนะของครูผู้สอน เกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 2 เพื่อที่จะเป็นข้อสารสนเทศนำไปปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา ทำให้บุคคลเกิดการพัฒนาทุกด้าน คือ ทำให้เกิดความเจริญความดีงามและความถูกต้อง หรืออาจเรียกได้ว่ามีความเจริญงอกงามในด้านความคิด ความรู้ ความชำนาญ อารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ทำให้มนุษย์เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีการพัฒนาทุกด้าน คือ ทำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ไม่มีโรค และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพ เมื่อมนุษย์ได้รับการพัฒนา ย่อมส่งผลถึงการพัฒนาสังคมทั้งในระดับประเทศและระดับสากล สรุปผลการเปรียบเทียบทัศนะคติของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ด้านความเหมาะสมของหลักสูตร โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง, ด้านความรู้สึกและการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง, และด้านแนวโน้มพฤติกรรมการนำไปสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ทัศนะคติของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนเพศชายกับครูผู้สอนเพศหญิง โดยส่วนรวมและรายด้านทุก ๆ ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนเพศชายมีทัศนะคติถูกต้องน้อยกว่าครูผู้สอนเพศหญิง ทัศนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนที่มีสถานภาพโสดกับครูผู้สอนที่มีสถานภาพสมรส โดยส่วนรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนที่มีสถานภาพโสดมีทัศนะคติน้อยกว่าครูผู้สอนที่มีสถานภาพสมรส, ทัศนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปี กับครูผู้สอนที่มีอายุ 41 ปีขึ้นไป โดยส่วนรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปี มีทัศนะคติน้อยกว่าครูผู้สอนที่มีอายุ 41 ปีขึ้นไป
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาการเรียนรู้พระพุทธศาสนากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551, 2. เพื่อศึกษาสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามทัศนะของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2, และ 3. เพื่อวิเคราะห์สาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามทัศนะของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2, การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ และคุณภาพซึ้งเน้นการวิจัยทางเอกสารโดยศึกษาจากพระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐและจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยปรากฏว่า ความหมายและความสำคัญของหลักสูตรมีความสำคัญมากต่อการเรียนการสอนความรู้เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ทำให้ทราบความสำคัญและความจำเป็นที่เราจะต้องศึกษาให้เข้าใจ และฝึกการใช้ให้ชำนาญตามหลักการของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะการศึกษาพุทธวิธีการสอนตามแนวทางในพระไตรปิฎกนั้น สามารถนำไปเป็นความรู้และแนวทางในการศึกษาวิเคราะห์ทัศนะของครูผู้สอน เกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนาในโรงเรียนระดับประถมศึกษา ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคามเขต 2 เพื่อที่จะเป็นข้อสารสนเทศนำไปปรับปรุงหลักสูตรการศึกษา ทำให้บุคคลเกิดการพัฒนาทุกด้าน คือ ทำให้เกิดความเจริญความดีงามและความถูกต้อง หรืออาจเรียกได้ว่ามีความเจริญงอกงามในด้านความคิด ความรู้ ความชำนาญ อารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ ทำให้มนุษย์เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีการพัฒนาทุกด้าน คือ ทำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ไม่มีโรค และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพ เมื่อมนุษย์ได้รับการพัฒนา ย่อมส่งผลถึงการพัฒนาสังคมทั้งในระดับประเทศและระดับสากล สรุปผลการเปรียบเทียบทัศนะคติของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ด้านความเหมาะสมของหลักสูตร โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง, ด้านความรู้สึกและการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง, และด้านแนวโน้มพฤติกรรมการนำไปสอน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ทัศนะคติของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนเพศชายกับครูผู้สอนเพศหญิง โดยส่วนรวมและรายด้านทุก ๆ ด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนเพศชายมีทัศนะคติถูกต้องน้อยกว่าครูผู้สอนเพศหญิง ทัศนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนที่มีสถานภาพโสดกับครูผู้สอนที่มีสถานภาพสมรส โดยส่วนรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนที่มีสถานภาพโสดมีทัศนะคติน้อยกว่าครูผู้สอนที่มีสถานภาพสมรส, ทัศนะของครูผู้สอนเกี่ยวกับสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา ระหว่างครูผู้สอนที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปี กับครูผู้สอนที่มีอายุ 41 ปีขึ้นไป โดยส่วนรวมและรายด้านทุกด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยครูผู้สอนที่มีอายุระหว่าง 20-40 ปี มีทัศนะคติน้อยกว่าครูผู้สอนที่มีอายุ 41 ปีขึ้นไป
This research has the following objectives: 1. To study the learning Buddhism. Learning social studies Religion and Culture According to the Core Curriculum for Basic Education Curriculum 2551 2. To study the perceptions of teachers learning Buddhism. Learning social studies 3. religions and cultures and to compare perceptions of teacher learning Buddhism. Learning social studies Religion and Culture Primary Educational Service Area Office 2 Sarakham district. This research is a qualitative and quantitative research which focuses on research papers the study of the Holy tipitaka of siam’s Scriptures Siamrath. the documents and related research results appear. The meaning and importance of the course. about Buddhism and learning of Buddhism. learning social studies Religion and Culture Curriculum for Basic Education Act of 2551 makes note of importance. And the need that we have to learn to understand and practice the principles of Buddhism practiced by the Buddhist teaching. According to the Holy Scriptures Able to educate and guide the study analyzes perceptions of teachers about learning Buddhism. In elementary schools in the office area, elementary District 2 University to become an information technology to improve educational programs makes the development of all aspects. Is causing a boom and decency, accuracy or could be called a growth in terms of knowledge, expertise emotions of human beings as a perfect man. The development of all aspects of the body healthy. No disease and can perform quality. When a human being developed will result in the development of society, both nationally and internationally. Results comparing the attitudes of teachers about learning Buddhism and the appropriateness of the course. Overall is moderate Emotional and psychological changes. Overall, the outlook is moderate and its teaching behavior. Overall at a low level Attitudes of teachers about learning Buddhism between male teachers and female teachers as a whole and individual aspects. Different aspects statistically significant at the .05 level. The teachers are male attitude was more female teachers, teachers' attitudes about learning Buddhism. The teachers who are single. The teachers were married by the collective and individual aspects of each. The difference was statistically significant at the .05 level. The teacher attitude, single, married, older teachers, teachers' attitudes about learning Buddhism. Teachers aged between 20-40 years with a teacher aged 41 years and over as a whole and all its aspects. The difference was statistically significant at the.05 level. The teachers are aged between 20-40 years, with attitudes than teachers older 41 years and over.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาการจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554