Search results

139 results in 0.14s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อตรวจสอบเชิงสำรวจองค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เสนอแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบวิธีวิทยาการวิจัยแบบผสม (Mixed Methods Research) คือ ผสมผสานวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผู้บริหารและรองผู้บริหารสี่ฝ่าย สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 536 คน เครื่องมือที่ในการรวบรวมข้อมูล 1) แบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 2) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อพฤติกรรมของตัวแปรที่เกี่ยวกับคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งดัชนีความสอดคล้องที่ค่าเฉลี่ย 0.67-1.00 มีค่าความเชื่อมั้นเท่ากับ 0.923 แบบประเมินที่ใช้รวบรวมข้อมูล ปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory of Initial factor analysis) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ .01 ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 41-45 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท ประการณ์ในการทำงานส่วนใหญ่ 10 ปีขึ้นไป องค์ประกอบคุณลักษณะคุณธรรมจริยธรรม พบว่า มี 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อตนเอง 2) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อสังคม 3) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน 4) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อองค์การ 2. ผลการตรวจสอบเชิงสำรวจองค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรม สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ด้านที่ 1) คุณธรรมจริยธรรมต่อตนเอง 12 ตัวแปร ด้านที่ 2) คุณธรรมจริยธรรมต่อสังคม 4 ตัวแปร ด้านที่ 3) คุณธรรมจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน 10 ตัวแปร ด้านที่ 4) คุณธรรมจริยธรรมต่อองค์การ 5 ตัวแปร เมื่อทำการวิเคราะห์การทดสอบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า ข้อความทุกองค์ประกอบมีความสัมพันธ์ในขนาดที่เหมาะสม ความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีนัยสำคัญทางสถิติ 3.
ดุษฎีนิพนธ์ฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อตรวจสอบเชิงสำรวจองค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เสนอแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบวิธีวิทยาการวิจัยแบบผสม (Mixed Methods Research) คือ ผสมผสานวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผู้บริหารและรองผู้บริหารสี่ฝ่าย สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 536 คน เครื่องมือที่ในการรวบรวมข้อมูล 1) แบบสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 2) แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อพฤติกรรมของตัวแปรที่เกี่ยวกับคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งดัชนีความสอดคล้องที่ค่าเฉลี่ย 0.67-1.00 มีค่าความเชื่อมั้นเท่ากับ 0.923 แบบประเมินที่ใช้รวบรวมข้อมูล ปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory of Initial factor analysis) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ .01 ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 41-45 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท ประการณ์ในการทำงานส่วนใหญ่ 10 ปีขึ้นไป องค์ประกอบคุณลักษณะคุณธรรมจริยธรรม พบว่า มี 4 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อตนเอง 2) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อสังคม 3) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน 4) ด้านคุณธรรมจริยธรรมต่อองค์การ 2. ผลการตรวจสอบเชิงสำรวจองค์ประกอบคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรม สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ด้านที่ 1) คุณธรรมจริยธรรมต่อตนเอง 12 ตัวแปร ด้านที่ 2) คุณธรรมจริยธรรมต่อสังคม 4 ตัวแปร ด้านที่ 3) คุณธรรมจริยธรรมต่อเพื่อนร่วมงาน 10 ตัวแปร ด้านที่ 4) คุณธรรมจริยธรรมต่อองค์การ 5 ตัวแปร เมื่อทำการวิเคราะห์การทดสอบกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า ข้อความทุกองค์ประกอบมีความสัมพันธ์ในขนาดที่เหมาะสม ความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีนัยสำคัญทางสถิติ 3.
แนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะด้านคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย 4 ด้าน 1) ด้านตนเอง ผู้บริหารฯ ต้องกำหนดนโยบายการส่งเสริมอย่างจริงจัง ในรูปของสโลแกน หรือ “สื่อสัญลักษณ์” จัดอบรมคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา ให้ความสำคัญปัญญาที่รอบรู้ตามเหตุปัจจัยรอบรู้ใน “อริยสัจสี่” และแนะนำให้ความรู้เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นด้วยความปรารถนาดี 2) ด้านสังคม ผู้บริหารฯ จัดสรรทรัพยากรเพื่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม กับบุคคลในองค์การ สื่อสารสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวกับงานคุณธรรมจริยธรรมจัดทำโครงการเชิงวัฒนธรรมร่วมกับทางศาสนา 3) ด้านเพื่อนร่วมงาน ผู้บริหารฯ ส่งเสริมให้สมาชิกในองค์ร่วมกันคิดร่วมกันสร้างกระบวนการคุณภาพ กำหนดคุณธรรมจริยธรรมหลักใช้ในการดำเนินชีวิตในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลง 4) ด้านองค์การ ผู้บริหารฯ ปฏิบัติตนตามหลักกัลยาณธรรมช่วยเหลือเกื้อกูลให้ผู้อื่นมีความสุข สามารถติดต่อสื่อสารการมีส่วนร่วม เอาใจใส่ไม่ทอดธุระในคำพูดต่อการประกอบกิจกรรมต่างๆ ปฏิบัติกิจที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมตามสมควรตามสถานการณ์โดยไม่หวังผลตอบแทน
This thesis intended for 1) Study, analyze and determine the elements of moral and ethical characteristics of educational institution administrators. in Bangkok 2) To examine the survey on the composition of moral and ethical characteristics of educational institution administrators in Bangkok 3) Propose guidelines to promote moral and ethical characteristics of educational institution administrators in Bangkok using mixed research methodology (Mixed Methods Research) is a combination of qualitative research methods and quantitative research methods (Quantitative Research) The samples used in the research Executives and four deputy executives in Bangkok, 536 people Tools for collecting information 1) Qualified interview form 2) An opinion questionnaire on the behavior of the variables related to moral and ethical characteristics of the school administrators. The mean consistency index of 0.67-1.00 has a confidence value of 0.923. The assessment form used to collect data, year 2019. Statistics used for data analysis, frequency (Frequency), percentage (Percentage), Standard Deviation (SD), Exploratory of Initial factor analysis, and Content Analysis using the software package. Statistics .01 The results of the research found that Results of a study on morality and ethics of educational institution administrators in the Bangkok Metropolitan Administration found that the respondents mostly female Most of the ages ranged from 41-45 years. Most of the education levels are master's degrees. Most of the work experience is 10 years or more. The composition of moral and ethical attributes found that there were 4 aspects, 1) morality and ethics towards oneself 2) morality and ethics towards society 3) morality and ethics towards colleagues 4) morality and ethics towards organizations 2. The results of an exploratory examination of the composition of moral and ethical attributes in Bangkok Metropolitan Administration found that 1) Moral and ethics towards oneself, 12 variables, aspect 2) Moral and ethics towards society, 4 variables, 3) Morality and ethics towards colleagues, 10 variables, 4) Morality and ethics towards the organization, 5 variables. When analyzing the experiments with the empirical data, it was found that every component of the statement correlated at an appropriate size. Model congruence with empirical data statistically significant 3. Guidelines for promoting moral and ethical characteristics of educational institution administrators consist of 4 aspects 1) On their own, the executives must seriously formulate the promotion policy. In the form of a slogan or “symbol media” organized moral and ethical training in educational institutions Give importance to wisdom that is wise according to the factors of knowledge in the "Four Noble Truths" and recommend knowledge to help others with good intentions. 2) On social aspect, the management allocates resources for the participation process. with people in the organization Communicate relationships with external agencies regarding moral and ethical work, create cultural projects in conjunction with religion. 3) Colleagues, executives encourage members of the organization to think together to create a quality process. Determine the principles of morality and ethics to use in life in the changing era 4) As for the organization, the executives act according to the principles of good morals, helping and helping others to be happy. can communicate participation Pay attention not to entrust in words to the activities Carry out activities that are beneficial to the community and society as appropriate under the circumstances without expecting any compensation.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สมรรถนะผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 2) การบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 และ 3) สมรรถนะผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่มตัวอย่างคือ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1จำนวนทั้งสิ้น 58 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลโรงเรียนละ 5 คน ประกอบด้วยผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 1 คน รองผู้อำนวยการโรงเรียนหรือหัวหน้างานหรือหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้จำนวน 1 คน และครูผู้สอน จำนวน 3 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 290 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะผู้บริหารตามแนวคิดของเฮลรีเกล,แจ็คสัน และสโลคัม และการบริหารงานบุคคลตามแนวคิดของคาสเต็ทเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลวิจัยพบว่า 1. สมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อยดังนี้ สมรรถนะในการวางแผนและการบริหารจัดการ สมรรถนะในการสื่อสาร สมรรถนะในการบริหารตนเอง สมรรถนะในการทำงานเป็นทีม สมรรถนะในการตระหนักรับรู้เรื่องโลกาภิวัตน์ และสมรรถนะในการปฏิบัติเชิงกลยุทธ์ 2. การบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิต จากมากไปน้อยดังนี้การปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง การพัฒนา การวางแผนกำลังคน การให้ความยุติธรรม ความมั่นคงในงาน การนำเข้าสู่หน่วยงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การให้ข้อมูลข่าวสาร การคัดเลือก การให้ค่าตอบแทนหรือสิ่งจูงใจ การสรรหา และการเจรจาต่อรอง 3. สมรรถนะในการปฏิบัติเชิงกลยุทธ์ สมรรถนะในการบริหารตนเอง และสมรรถนะในการวางแผนและการบริหารจัดการ ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนสมรรถนะในการสื่อสารและสมรรถนะในการตระหนักรับรู้เรื่องโลกาภิวัตน์ ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สมรรถนะผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 2) การบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 และ 3) สมรรถนะผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 กลุ่มตัวอย่างคือ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1จำนวนทั้งสิ้น 58 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลโรงเรียนละ 5 คน ประกอบด้วยผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 1 คน รองผู้อำนวยการโรงเรียนหรือหัวหน้างานหรือหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้จำนวน 1 คน และครูผู้สอน จำนวน 3 คน รวมผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 290 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับสมรรถนะผู้บริหารตามแนวคิดของเฮลรีเกล,แจ็คสัน และสโลคัม และการบริหารงานบุคคลตามแนวคิดของคาสเต็ทเตอร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลวิจัยพบว่า 1. สมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปน้อยดังนี้ สมรรถนะในการวางแผนและการบริหารจัดการ สมรรถนะในการสื่อสาร สมรรถนะในการบริหารตนเอง สมรรถนะในการทำงานเป็นทีม สมรรถนะในการตระหนักรับรู้เรื่องโลกาภิวัตน์ และสมรรถนะในการปฏิบัติเชิงกลยุทธ์ 2. การบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิต จากมากไปน้อยดังนี้การปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง การพัฒนา การวางแผนกำลังคน การให้ความยุติธรรม ความมั่นคงในงาน การนำเข้าสู่หน่วยงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การให้ข้อมูลข่าวสาร การคัดเลือก การให้ค่าตอบแทนหรือสิ่งจูงใจ การสรรหา และการเจรจาต่อรอง 3. สมรรถนะในการปฏิบัติเชิงกลยุทธ์ สมรรถนะในการบริหารตนเอง และสมรรถนะในการวางแผนและการบริหารจัดการ ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 โดยภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนสมรรถนะในการสื่อสารและสมรรถนะในการตระหนักรับรู้เรื่องโลกาภิวัตน์ ส่งผลต่อการบริหารงานบุคคลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
This research purposes were to determine 1) the administrator’s competencies of School in the Bangkok Secondary Educational Service Area 1 2) the personnel administration of School in the Bangkok Secondary Educational Service Area 1 and 3) the administrator’s competencies affecting personnel administration of School in the Bangkok Secondary Educational Service Area 1. The samples were 58 private schools in the Bangkok Secondary Educational Service Area 1. The 5 respondents of each school were; a licensee, a manager or a school director, adeputy school director, a head of department or an academic learning department’s head and three teachers, totally 290 respondents. The research instrument was a questionnaire concerning administrator’s competencies on Hellriegel, Jackson, and Slocum’s concept and personnel administration on Castetter’s concept. The statistics for analyzing the data were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis. The research findings were as follows; 1. The administrator’s competencies of School in the Bangkok Secondary Educational Service Area 1 as a whole, were at a high level. Ranking level with arithmetic mean from the highest to the lowest were; planning and administration competency, communication competency, self-management competency, teamwork competency, global awareness competency and strategic action competency. 2.The personnel administration of School in the Bangkok Secondary Educational Service Area 1 as a whole, were at a high level. Ranking level with arithmetic mean from the highest to the lowest were; continuity, development, manpower planning, justice, induction, appraisal, information, selection, compensation, recruitment, and bargaining. 3. The administrator’s competencies affecting personnel administration of School in the Bangkok Secondary Educational Service Area 1 were found that strategic action competency, self-management competency and planning and administration competency affected personnel administration of School in the Bangkok Secondary Educational Service Area 1 as a whole. 0.05 level at statistical significance, but communication competency and global awareness competency affecting personnel administration of School in the Bangkok Secondary Educational Service Area 1
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินและรับรองตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รวม 437 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.6-1.0 มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.33-0.89 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างตัวแปร 135 ตัวแปร 2. ผลพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า ได้ 6 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ คือ (1) ด้านคุณธรรมและจรรยาบรรณ (2) ด้านทักษะการสื่อสารและเทคโนโลยี (3) ด้านการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น (4) ด้านการตัดสินใจ (5) ด้านการสร้างแรงจูงใจ และ (6) ด้านการเสียสละและการอุทิศตน 3. ผลการประเมินและรับรองตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร จากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินและรับรองรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 (X ̅ = 4.56) ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองที่ผู้วิจัยกำหนด คือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อประเมินและรับรองตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รวม 437 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นมาตรวัดแบบประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.6-1.0 มีค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.33-0.89 และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างตัวแปร 135 ตัวแปร 2. ผลพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า ได้ 6 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ คือ (1) ด้านคุณธรรมและจรรยาบรรณ (2) ด้านทักษะการสื่อสารและเทคโนโลยี (3) ด้านการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น (4) ด้านการตัดสินใจ (5) ด้านการสร้างแรงจูงใจ และ (6) ด้านการเสียสละและการอุทิศตน 3. ผลการประเมินและรับรองตัวบ่งชี้คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร จากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินและรับรองรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56 (X ̅ = 4.56) ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินและรับรองที่ผู้วิจัยกำหนด คือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงสรุปได้ว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
The purposes of this research were : 1) to study the components of desirable characteristic indicators for school administrators under the bangkok metropolitan administration 2) to create an of the desirable characteristic indicators for school administrator under the bangkok metropolitan administration and 3) to evaluate and affirm the of desirable characteristic indicators for school administrators under the bangkok metropolitan administration. The mixed research methodology was used in the data were consisting of school directors simple 437. The research instruments were semi-structured interviews, questionnaires and confirmation or certification forms through 5-rating scale questionnaires by IOC; 0.6-1.0 discriminatory power equal to 0.33-0.89 with reliability at 0.95, The analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, exploratory factor analysis. The results of this research was found that : 1. The components of desirable characteristic indicators for school administrators under the bangkok metropolitan dministration components and 135 variables. 2. The an desirable characteristic indicators for school administrators under the bangkok metropolitan administration, general education department from exploratory factor analysis (EFA) has 6 main components; (1) morality and ethics, (2) communication and technology skills, (3) conservation of local wisdom, (4) decision making, (5) motivation, and (6) sacrifice and dedication. 3. The evaluation and confirmation of the Indicators from experts in its propriety, accuracy, feasibility, and utility is at 4.56 (X ̅ = 4.56), higher than the set criteria at = 3.51. That means the model is approved.
หนังสือ

หนังสือ