Search results

386 results in 0.08s

หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของสตรี (2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของสตรีในพระสุตตันตปิฎก และ (3) เพื่อวิเคราะห์ประโยชน์และคุณค่าภาวะผู้นำของสตรีในพระสุตตันตปิฎก ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า (1) สตรีมีบทบาทในการดำเนินงานและเป็นผู้นำทั้งภาครัฐและเอกชนมากยิ่งขึ้นอันเนื่องมาจากความเสมอภาคทางด้านสังคมที่ผู้หญิงและผู้ชายมีสิทธิเท่าเทียมกัน ดังจะเห็นได้จากสังคมปัจจุบันที่สตรีเป็นฝ่ายทำงานหาเงินเพื่อจุนเจือครอบครัวเช่นเดียวกับผู้ชายทำให้ศักยภาพของผู้หญิงทัดเทียมกับผู้ชายหรืองานบางอย่างผู้หญิงสามารถทำได้คล้ายผู้ชาย ไม่ว่าจะเป็นในระดับครอบครัว ชุมชน สังคม หรือ ประเทศ ก็มีสตรีที่มีความรู้ความสามารถดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆ ด้วยกันทั้งสิ้น (2) วีถีการดำเนินชีวิตของนางวิสาขาและนางสามาวดีเป็นผู้หญิงเก่งฉลาด ควรนำมาเป็นต้นแบบให้กับผู้หญิงสมัยใหม่ มีวิธีการในการจัดการปัญหาได้ อย่างชาญฉลาดและรอบคอบรู้จักการวางตน และมีความอดทน พยายามในการใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวสามีและอยู่กับพระพุทธศาสนาอย่างมีความสุขได้ (3) วิจัยนี้สามารถถอดบทเรียนในลักษณะมิติใหม่ที่เป็นหลักการสังคหวัตถุ และหลักการดำเนินชีวิตนางสมาวดี ในอีกมุมมอง คือ การใช้ 4S และ 1L 3P ให้เข้ากับภาวะผู้นำปัจจุบัน ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่ หลักสังคหวัตถุและหลักการดำเนินชีวิตนางสมาวดีเป็นการนำพา ตนเอง ครอบครัว สังคม ให้ไปสู่สภาวะของความสุขสงบ ร่มเย็นการที่ไม่มีปัญหา เพราะปัญหาได้ผ่านกระบวนการขัดเกลา ของหลักทั้ง 2 ไปแล้วย่อมเกิดความเป็นภาวะผู้นำที่ดีแน่นอน ที่สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์สำหรับ สตรียุคสมัยใหม่อีกด้วยเพื่อความเป็นผู้นำพาให้สังคมไปสู่การพัฒนาที่ยั้งยืน
สารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ (1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของสตรี (2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของสตรีในพระสุตตันตปิฎก และ (3) เพื่อวิเคราะห์ประโยชน์และคุณค่าภาวะผู้นำของสตรีในพระสุตตันตปิฎก ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาเอกสาร ผลการวิจัยพบว่า (1) สตรีมีบทบาทในการดำเนินงานและเป็นผู้นำทั้งภาครัฐและเอกชนมากยิ่งขึ้นอันเนื่องมาจากความเสมอภาคทางด้านสังคมที่ผู้หญิงและผู้ชายมีสิทธิเท่าเทียมกัน ดังจะเห็นได้จากสังคมปัจจุบันที่สตรีเป็นฝ่ายทำงานหาเงินเพื่อจุนเจือครอบครัวเช่นเดียวกับผู้ชายทำให้ศักยภาพของผู้หญิงทัดเทียมกับผู้ชายหรืองานบางอย่างผู้หญิงสามารถทำได้คล้ายผู้ชาย ไม่ว่าจะเป็นในระดับครอบครัว ชุมชน สังคม หรือ ประเทศ ก็มีสตรีที่มีความรู้ความสามารถดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆ ด้วยกันทั้งสิ้น (2) วีถีการดำเนินชีวิตของนางวิสาขาและนางสามาวดีเป็นผู้หญิงเก่งฉลาด ควรนำมาเป็นต้นแบบให้กับผู้หญิงสมัยใหม่ มีวิธีการในการจัดการปัญหาได้ อย่างชาญฉลาดและรอบคอบรู้จักการวางตน และมีความอดทน พยายามในการใช้ชีวิตอยู่กับครอบครัวสามีและอยู่กับพระพุทธศาสนาอย่างมีความสุขได้ (3) วิจัยนี้สามารถถอดบทเรียนในลักษณะมิติใหม่ที่เป็นหลักการสังคหวัตถุ และหลักการดำเนินชีวิตนางสมาวดี ในอีกมุมมอง คือ การใช้ 4S และ 1L 3P ให้เข้ากับภาวะผู้นำปัจจุบัน ที่ยังมีความเหลื่อมล้ำกันอยู่ หลักสังคหวัตถุและหลักการดำเนินชีวิตนางสมาวดีเป็นการนำพา ตนเอง ครอบครัว สังคม ให้ไปสู่สภาวะของความสุขสงบ ร่มเย็นการที่ไม่มีปัญหา เพราะปัญหาได้ผ่านกระบวนการขัดเกลา ของหลักทั้ง 2 ไปแล้วย่อมเกิดความเป็นภาวะผู้นำที่ดีแน่นอน ที่สามารถนำมาใช้เป็นประโยชน์สำหรับ สตรียุคสมัยใหม่อีกด้วยเพื่อความเป็นผู้นำพาให้สังคมไปสู่การพัฒนาที่ยั้งยืน
This thematic paper had three objectives: (1) to study the leadership of women (2) to study the leadership of women in Suttanta pitaka, and (3) to analyze the benefits and values of women 's leadership in Suttanta pitaka. by using qualitative research model and by studying documents. The results of research was found as follows: (1) Women had a greater role in the operation and leadership of both the public and private sectors due to social equality in which women and men had equal rights. As it could be seen from the present society, women were working to raise money to support their families, as well as men, making women’s potential equal to men or certain jobs. Women could do like men, Whether at the family level, community, society or country. there were women who had the knowledge and ability to hold important positions together. (2) The way of life of Mrs. Visakha and Mrs. Samavati was smart and intelligent. It could be a model for modern women.Both of them had ways to manage problems wisely and carefully, They knew how to behave themselves and had patience. They tried to live with the husband's family and live happily in Buddhism. (3) This research could give the lesson in a new dimension. that was the principle of Sangahavatthu and the principles of Mrs. Samavati in another view, using 4S and 1L 3P to match the current leadership, which was still inequality. The principle of Sangahavatthu and principles of lifestyle of Mrs. Samavati broght the family and society to the state to happiness and peace of refining the core of the two principles, then it was certainly a good leadership. It could be used as a benefit for modern women as well as being a leader for society to sustainable development.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศษ.ด) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 2) ศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 3) ศึกษาภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนจำนวน 103 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 86 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 344 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ค่าสถิติพื้นฐานค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผลเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์เชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม 2. การบริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา การแนะแนว ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. ภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผลเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (x4) ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (x1) และด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์เชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (X3) สามารถร่วมกันทำนายการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ได้ร้อยละ 32.6
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 2) ศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 3) ศึกษาภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ โรงเรียนจำนวน 103 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างจำนวน 86 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 344 คน ประกอบด้วย ผู้บริหารโรงเรียน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ค่าสถิติพื้นฐานค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผลเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์เชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม 2. การบริหารงานวิชาการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา การแนะแนว ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. ภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผลเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (x4) ด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (x1) และด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์เชิงบูรณาการอธิษฐานธรรม (X3) สามารถร่วมกันทำนายการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา ได้ร้อยละ 32.6
The objectives of the study were: 1) to study participative leadership integrated with Adhitthãna-Dhamma Principles of school administrators under the Office of Samut Sakhon Primary Educational Service Area, 2) to study the academic administration in schools under the Office of Samut Sakhon Primary Educational Service Area and, 3) to study participative leadership integrated with Adhitthãna-Dhamma Principles of school administrators affecting the academic administration in schools under the Office of Samut Sakhon Primary Educational Service Area. The population of this study consisted of 103 schools. The sample of the study was 86 schools. A sample was selected from 344 students consisted of school administrators and teachers. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are the descriptive statistics which is of the frequency, percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis The results of the research were as follows: 1. The leadership with Integrative participatory Adhitthãna-Dhamma Principles of executives educational institutions in overall was at the highest level and each side was at the highest level in every aspects by the average from high to low that participation in the integrated Adhitthãna-Dhamma Principles, participation in integrated evaluation of Adhitthãna-Dhamma Principles, participation in integrated decision-making in Adhitthãna-Dhamma Principles. The least average part was the participation in receiving benefits for Integrative Adhitthãna-Dhamma Principles. 2. Academic Administration in overall was at the highest level and each side was at the highest level in every aspect by the average from high to low that the development of the internal quality assurance system, the educational standards, the curriculum development of the guidance academy. The least average was at the research to improve educational quality. 3. The leadership with integrative participatory Adhitthãna-Dhamma Principles of executives’ educational institutions under the Office of Samut Sakhon Primary Educational Service Area. participation in evaluation Integrated with Adhitthãna-Dhamma Principles (x4), participation in decision-making integrated with Adhitthãna-Dhamma Principles (x1), and participation in receiving benefit integrated with Adhitthãna-Dhamma Principles (X3) can jointly predict the academic administration of the school administrators at 32.6 percent.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 แนวคิดภาวะผู้นำ
  • บทที่ 2 ทฤษฎีภาวะผู้นำยุคเริ่มต้น
  • บทที่ 3 ทฤษฎีภาวะผู้นำยุคบูรณาการ
  • บทที่ 4 ผู้นำกับการเปลี่ยนแปลง
  • บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา
  • บทที่ 6 การบริหารความเปลียนแปลง
  • บทที่ 7 ภาวะผู้นำการศึกษาในศตวรรษที่ 21
  • บทที่ 8 ภาวะผู้นำในภาวะวิกฤต
  • บทที่ 9 ภาวะผู้นำเพื่อความสำเร็จ
  • บทที่ 10 ภาวะผู้นำที่มีประสิทธิลผล
  • บทที่ 11 ภาวะผู้นำสำหรับการเปลี่ยนแปลง
  • บทที่ 12 ภาวะผู้นำทางการศึกษาไทย
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ