Search results

386 results in 0.11s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์ นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ประชากร คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร จำนวน 103 โรง กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 86 โรง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร โดยภาพรวม และรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 2. การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยพบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ไม่แตกต่างกัน 3. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร คือ ด้านการกระตุ้นทางปัญญา (X3) ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ (X1) และด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (X4) โดยสามารถพยากรณ์การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีค่าอำนาจในการพยากรณ์ร่วมกันร้อยละ 81.40 (R2=0.814) สามารถสร้างสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y' = .881 + 0.433(X3) + 0.209(X1) + 0.175 (X4) (R2 = 0.814) สมการคะแนนมาตรฐาน Zy′ = 0.449(X3) + 0.216(X1) + 0.204 (X4) (R2 = 0.814)
วิทยานิพนธ์ นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร2) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาสังกัดสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ประชากร คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร จำนวน 103 โรง กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 86 โรง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร โดยภาพรวม และรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 2. การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยพบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ไม่แตกต่างกัน 3. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงบูรณาการหลักสังคหวัตถุของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร คือ ด้านการกระตุ้นทางปัญญา (X3) ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ (X1) และด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (X4) โดยสามารถพยากรณ์การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีค่าอำนาจในการพยากรณ์ร่วมกันร้อยละ 81.40 (R2=0.814) สามารถสร้างสมการพยากรณ์ได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y' = .881 + 0.433(X3) + 0.209(X1) + 0.175 (X4) (R2 = 0.814) สมการคะแนนมาตรฐาน Zy′ = 0.449(X3) + 0.216(X1) + 0.204 (X4) (R2 = 0.814)
The research aimed to: 1) study the transformational leadership integrated with Sangahavatthu principles of school administrators under Samut Sakhon Primary Educational service area office 2) study the academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office 3) study the transformational leadership integrated with Sangahavatthu principles of school administrators affecting the academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office. The peoples were 103 schools. The samples were 86 schools. The instrument is questionnaire. The statistics use for data analysis were frequency, percentage, means, standard deviation, Pearson’s product moment correation coefficient and stepwise multiple regression analysis. The results were found that: 1) Transformational leadership integrated with Sangahavatthu principles of school administrators affecting the academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office were a high level. When considering each aspect, it was found that it was at the high level. 2) The academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office were a high level, it not different. 3) Transformational leadership integrated with Sangahavatthu principles of school administrators affecting the academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office. Intellectual stimulation with Sangahavatthu principles (X3) Inspiration motivation with Sangahavatthu principles (X1) and Individualized consideration with Sangahavatthu principles (X4) with which the academic administration in schools under Samut Sakhon Primary Educational service area office can be predicted with statistical significance at the level of .05, and the prediction power they had together was 81.40 percent (R2 = 0.814). The prediction equation in the form of raw score can be derived as follows: Y' = .881 + 0.433(X3) + 0.209(X1) + 0.175 (X4) (R2 = 0.814) And the prediction equation in the form of standardized score can be derived as follows: Zy′ = 0.449(X3) + 0.216(X1) + 0.204 (X4) (R2 = 0.814)
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตามระดับการศึกษา ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำนวน 370 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test (Independent Samples) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) โดยใช้สถิติ F-test ผลการวิจัยพบว่า : 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ รองลงมา คือ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล 2. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ไม่พบความแตกต่างกัน 3. ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากคำถามปลายที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ ผู้บริหารควรยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมในการตัดสินใจทำงาน มีความซื่อสัตย์สุจริตและไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ สามารที่จะนำเทคนิค วิธีการมาใช้ในการบริหารจัดการได้ตามสถานการณ์ ควรสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรเกิดแรงบันดาลใจในการทำงาน สร้างความเชื่อมั่นให้แก่บุคลากรในการทำงานเอาชนะปัญหามุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน ควรกระตุ้นให้ครูมีความกระตือรือร้นในการทำงานเป็นทีม เปิดโอกาสให้ครูมีส่วนร่วมในการกำหนดภารกิจขององค์กร การสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานแก่ครูและบุคลากร ควรส่งเสริมให้ผู้ร่วมงานมีการพัฒนาตนเองและสนใจในการการพัฒนาจุดเด่นของตัวผู้ร่วมงาน และควรนำทักษะและประสบการณ์มาใช้ในการวางแผนและแก้ไขปัญหาดูแลและเอาใจในครูและบุคลากรอย่างทั่วถึง 4.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตามระดับการศึกษา ตำแหน่ง และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะและแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอน สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด จำนวน 370 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test (Independent Samples) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) โดยใช้สถิติ F-test ผลการวิจัยพบว่า : 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ รองลงมา คือ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล 2. การเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนศึกษาพิเศษ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ไม่พบความแตกต่างกัน 3. ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากคำถามปลายที่ได้จากกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้ ผู้บริหารควรยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมในการตัดสินใจทำงาน มีความซื่อสัตย์สุจริตและไม่แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบ สามารที่จะนำเทคนิค วิธีการมาใช้ในการบริหารจัดการได้ตามสถานการณ์ ควรสร้างแรงจูงใจให้บุคลากรเกิดแรงบันดาลใจในการทำงาน สร้างความเชื่อมั่นให้แก่บุคลากรในการทำงานเอาชนะปัญหามุ่งสู่เป้าหมายเดียวกัน ควรกระตุ้นให้ครูมีความกระตือรือร้นในการทำงานเป็นทีม เปิดโอกาสให้ครูมีส่วนร่วมในการกำหนดภารกิจขององค์กร การสร้างขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานแก่ครูและบุคลากร ควรส่งเสริมให้ผู้ร่วมงานมีการพัฒนาตนเองและสนใจในการการพัฒนาจุดเด่นของตัวผู้ร่วมงาน และควรนำทักษะและประสบการณ์มาใช้ในการวางแผนและแก้ไขปัญหาดูแลและเอาใจในครูและบุคลากรอย่างทั่วถึง 4.
แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ การมีวิสัยทัศน์ของผู้นำที่มีเป้าหมายที่เป็นอุดมการณ์ มีความชัดเจนในการปฏิบัติงาน กล้าที่จะทำในสิ่งใหม่ ๆ โดยมีความเป็นมิตร จริงใจ มีคุณธรรม นำทีมงานไปสู่ความสำเร็จที่ตังไว้ ด้านการสร้างแรงจูงใจ มีการแสดงออกซึ่งความกระตือรือร้น โดยการสร้างเจตคติที่ดีและการคิดในแง่บวก ผู้นำจะสร้างและสื่อความหวังที่ผู้นำต้องการอย่างชัดเจน แสดงความเชื่อมั่นและแสดงให้เห็นความตั้งใจอย่างแน่วแน่ว่าสามารถบรรลุเป้าหมายได้ ด้านการกระตุ้นทางปัญญา การดูแลเอาใจใส่ผู้ตามเป็นรายบุคคล และทำให้ผู้ตามรู้สึกมีคุณค่าและมีความสำคัญ ผู้นำมีการกระตุ้นให้ผู้ตามแสดงความคิดและเหตุผล และไม่วิจารณ์ความคิดของผู้ตาม แม้ว่ามันจะแตกต่างไปจากความคิดของผู้นำ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ทำให้ผู้ตามรู้สึกมีคุณค่าและมีความสำคัญ ผู้นำจะเป็นโค้ช (Coach) และเป็นที่ปรึกษา (Advisor) ของผู้ตามแต่ละคน เพื่อการพัฒนาผู้ตาม เข้าใจและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น บางคนได้รับกำลังใจมากกว่า บางคนได้รับอำนาจการตัดสินใจด้วยตนเองมากกว่า บางคนมีมาตรฐานที่เคร่งครัดกว่า บางคนมีโครงสร้างงานที่มากกว่า ผู้นำมีการส่งเสริมการสื่อสารสองทาง
The objectives of this research were 1) to study the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education, 2) to compare the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education, classified byeducational level, position, and work experience, and 3) to study recommendations and development guideliones of the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education. The sample consisted of 370 teachers of the Secondary Educational Service Area Office Roi Et. The instrument used in this research was a 5-level estimation scale questionnaire with IOC values between 0.67 – 1.00 with confidence in the whole issue of 0.98 and the interview form. Statistics used to test the hypothesis using t-tests (Independent Samples) and One Way ANOVA) using F-test statistics. The results were found that : 1. The Transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education by overall, was at a high level. When considering each aspect found that the aspect with the highest was inspiration, followed by having ideological influence, and consideration of individuality was the lowest mean. 2. The comparison of personnel opinions towards the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education, classified by educational level, position, and work experience were no difference. 3. The results of analysis of the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education from the open-ended questions obtained from the sample group as follows: the executives should adhire to the principles morality and work ethics, having honesty and no seeking unlawful benefits, applying techniques to manage according to the situation, motivating personnel to be inspired to work, building confidence in personnel to overcome problems and strive towards the sae goals, encouraging teachers to be active in team work, providing oppotunities for teachers to participate in defining the mission of the organization, morale building for teachers and staff, encoraging to develop themselves and interested in developing the participants’strengths, and bringing skills and experience to be used in planning and solving problems, and taking care of teachers and staff throughly. 4. Development guidelines of the transformational leadership of special education school administrators under the Northeast Bureau Special Education found that the ideological influence aspect: having a vision of leader with ideological goals, having clearity in operation, dare to do the new things with sincerity and viture, and leading the team to the set success, motivation: showing enthusiasm by creating a positive attitude and positive thinking, leader should be create and convey their desire clearly, show confidence and determination to achieve goals, intellectual stumulation: taking care of individual followers, making followers feel valued and important, encouraging followers to express ideas and reason, and no critique of followers’ thought though it differed from the leader’s opinion, individuality: making followers feel, leader should be coached and advisor of each follower for as to the follower development, understanding and accepting individual differences such as some were more encouraged, some were empowdered to make more decisions for themselves, some had more strengent standards, some had more structure, and leader should promote two-way communication.
หนังสือ

    การศึกษาวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพวิเคราะห์เอกสารและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ 3 ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการปกครอง 2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการปกครองที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก 3) เพื่อวิเคราะห์ประโยชน์และคุณค่าภาวะผู้นำการปกครองที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำการปกครอง ผู้นำต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความซื่อสัตย์และยึดถือหลักคุณธรรมในการทำงาน สามารถเข้าถึงใจมวลชน บริหารประเทศได้โดยสามารถแก้ปัญหาทั้งปัญหาเฉพาะหน้าและปัญหาระยะยาวอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความสามารถพิเศษในการใช้คนให้ถูกกับงาน ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีวิสัยทัศน์ และมีวุฒิภาวะในการทำงาน 2) ภาวะผู้นำการปกครองที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎกนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ด้าน คือ 1) ด้านคุณลักษณะได้แก่ คุณสมบัติของความเป็นผู้นำ 4 ประการ 2) ด้านการจัดการความมั่นคงภายในได้แก่ จักกวัตติวัตร 12 ประการ 3) ด้านการพัฒนาได้แก่ วิธีการปราบโจรผู้ร้าย 3 ประการ 4) ด้านพฤติกรรมได้แก่ ทศพิธราชธรรม 10 3) วิเคราะห์ประโยชน์และคุณค่าภาวะผู้นำการปกครองที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก ผู้นำต้องเป็นผู้ที่มีความเพียบพร้อมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ และด้านพฤติกรรม มีความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เห็นอกเห็นใจผู้ใต้บังคับบัญชา มีความเสียสละมีจิตสาธารณะในการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม ไม่ทุจริตคอรัปชั่น ยึดความถูกต้องในการบริหารงานเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนโดยส่วนรวม
การศึกษาวิจัยนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพวิเคราะห์เอกสารและวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนามีวัตถุประสงค์ 3 ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการปกครอง 2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการปกครองที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก 3) เพื่อวิเคราะห์ประโยชน์และคุณค่าภาวะผู้นำการปกครองที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำการปกครอง ผู้นำต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด มีความซื่อสัตย์และยึดถือหลักคุณธรรมในการทำงาน สามารถเข้าถึงใจมวลชน บริหารประเทศได้โดยสามารถแก้ปัญหาทั้งปัญหาเฉพาะหน้าและปัญหาระยะยาวอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความสามารถพิเศษในการใช้คนให้ถูกกับงาน ใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีวิสัยทัศน์ และมีวุฒิภาวะในการทำงาน 2) ภาวะผู้นำการปกครองที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎกนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ด้าน คือ 1) ด้านคุณลักษณะได้แก่ คุณสมบัติของความเป็นผู้นำ 4 ประการ 2) ด้านการจัดการความมั่นคงภายในได้แก่ จักกวัตติวัตร 12 ประการ 3) ด้านการพัฒนาได้แก่ วิธีการปราบโจรผู้ร้าย 3 ประการ 4) ด้านพฤติกรรมได้แก่ ทศพิธราชธรรม 10 3) วิเคราะห์ประโยชน์และคุณค่าภาวะผู้นำการปกครองที่ปรากฏในพระสุตตันตปิฎก ผู้นำต้องเป็นผู้ที่มีความเพียบพร้อมทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ และด้านพฤติกรรม มีความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ มีจิตใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่เห็นอกเห็นใจผู้ใต้บังคับบัญชา มีความเสียสละมีจิตสาธารณะในการบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวม ไม่ทุจริตคอรัปชั่น ยึดความถูกต้องในการบริหารงานเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนโดยส่วนรวม
The objectives of this qualitative research are as follows: 1) to study leadership and governance, 2) to study governance leadership in the Suttantapitaka, and 3) to analyze the benefits and values of governance leadership in the Suttantapitaka. The study results showed that 1) In leadership, leaders must be intelligent, honest and upholding moral principles in work, able to reach the hearts of the masses, manage the country by being able to solve both immediate and long-term problems with efficiency and effectiveness, able to put the right people for the right job, use resources efficiently and effectively, and have vision and work maturity. 2) The governance leadership found in the Suttantapitaka can be divided into 4 aspects as follows: 1) Features referring to four qualities of leadership, 2) The internal security management referring to 12 Chakkavattivattas, 3) The development aspect referring to 3 methods of suppressing criminal thieves, and 4) Behavioral aspect 10 Rajadhamma. 3) The benefits and values of governance leadership found in the Suttantapitaka indicated that leaders must be people who are well-equipped with morality, ethics, characters and behaviors, honesty, generous heart, and sympathy with their subordinates. The leaders should have sacrifice and a public mind in the service for the public, no corruption, adhere to the righteousness of administration for the benefit of the public in general.
หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • มโนทัศน์ของการบริหารและภาวะผู้นำ
  • ทฤษฎีภาวะผู้นำ
  • รูปแบบภาวะผู้นำ
  • อิทธิพลของรูปแบบภาวะผู้นำต่อผู้บริหารการศึกษา
  • พฤติกรรมภาวะผู้นำ
  • พฤติกรรมในโรงเรียนในฐานะสถาบันและการบังคับบัญชา
  • ความหมายและประเภทของการตัดสินใจ
  • ระเบียบวิธีในการตัดสินใจในสถาบันการศึกษา
  • แม่แบบการตัดสินใจ
  • การบริหารบุคลากรและนักเรียนในโรงเรียน
  • การจูงใจบุคลากรในโรงเรียน
  • การประเมินผลการปฏิบัติงาน
  • องค์การรูปนัยและอรูปนัย
  • ความต้องการขององค์การและมนุษย์
  • มโนทัศน์ของบรรยากาศในโรงเรียน
  • การวัดบรรยากาศในโรงเรียน
  • ปัญหาปัจจุบันในการบริหารโรงเรียน
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 3) ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 4) ศึกษาขนาดอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูล เป็นผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 434 รูป/คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรวัดประเมินค่าระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.97 และ 0.98 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเป็นสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอ้างอิง โดยวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและโปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า 1.ระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.ระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง ได้แก่ P-value of , /df, GFI, AGFI, CFI, SRMR, RMSEA, CN และ LSR ผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนดทุกค่า 4.ปัจจัยเบญจธรรมมีค่าอิทธิพลรวมสูงสุดต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.93 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีค่าอิทธิพลทางตรงต่ออิทธิบาท เท่ากับ 0.98 และมีค่าอิทธิพลทางอ้อมผ่านอิทธิบาทไปยังภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและมยปัญญา เท่ากับ 0.83 และ 0.94 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 รองลงมา คือ ปัจจัยอิทธิบาทมีค่าอิทธิพลรวมต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.85 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 2) ศึกษาและเปรียบเทียบระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย 3) ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และ 4) ศึกษาขนาดอิทธิพลของปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) กลุ่มตัวอย่างที่ให้ข้อมูล เป็นผู้บริหาร คณาจารย์ และเจ้าหน้าที่ สังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 434 รูป/คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามชนิดมาตรวัดประเมินค่าระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.97 และ 0.98 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลเป็นสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอ้างอิง โดยวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและโปรแกรม LISREL ผลการวิจัย พบว่า 1.ระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า มีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2.ระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธของผู้บริหารในมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยภาพรวม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา อยู่ในระดับมาก เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบจำแนกตามสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธไม่แตกต่างกัน ยกเว้นสถานภาพด้านช่วงอายุไม่เกิน 35 ปี กับ 46 ปีขึ้นไป พบว่า ผู้บริหารมีระดับการแสดงออกในปัจจัยเบญจธรรม อิทธิบาท และมยปัญญา แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3.โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง ได้แก่ P-value of , /df, GFI, AGFI, CFI, SRMR, RMSEA, CN และ LSR ผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนดทุกค่า 4.ปัจจัยเบญจธรรมมีค่าอิทธิพลรวมสูงสุดต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.93 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีค่าอิทธิพลทางตรงต่ออิทธิบาท เท่ากับ 0.98 และมีค่าอิทธิพลทางอ้อมผ่านอิทธิบาทไปยังภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธและมยปัญญา เท่ากับ 0.83 และ 0.94 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 รองลงมา คือ ปัจจัยอิทธิบาทมีค่าอิทธิพลรวมต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ เท่ากับ 0.85 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
โดยมีค่าอิทธิพลทางตรงต่อมยปัญญาและภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธเท่ากับ 0.96 และ 0.81 ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนปัจจัยมยปัญญาไม่มีค่าอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ ทั้งนี้ ปัจจัยเชิงสาเหตุทั้งสามตัวร่วมกันอธิบายภาวะผู้นำเชิงคุณธรรมจริยธรรมแบบพุทธ ได้ร้อยละ 0.96
The objectives of this research were: 1) to study and compare the level of moral and ethical leadership based on Buddhism of administrators in Mahamakut Buddhist University, 2) to study and compare the level of behaviors in factors influencing moral and ethical leadership based on Buddhism of the administrators in Mahamakut Buddhist University, 3) to examine the consistence of the developed structural equation model of moral and ethical leadership based on Buddhism of administrators in Mahamakut Buddhist University and the empirical data, and 4) to study the size of influence of casual factors affecting moral and ethical leadership based on Buddhism of administrators in Mahamakut Buddhist University. This research was used by the quantitative research method. The 434 samples used in the study were obtained by simple random sampling. The instrument used to collect data was the questionnaire with the rating scale of leadership and causal factors having reliability coefficient at 0.97 and 0.98 respectively. The statistics used for data analysis were descriptive and inferential statistic analyzing by SPSS and LISREL Programs. The research results found that: 1. The mean of moral and ethical leadership based on Buddhism was in a high level. The comparison classified by the statuses of key informants showed the indifferent level of moral and ethical leadership based on Buddhism. However, the key informants with equal or under 35 and over 46 years old reflected that administrators showed the different levels of behaviors with statistical significance at 0.05. 2. The levels of behaviors in factors influencing the moral and ethical leadership based on Buddhism were as follows; Pañca-dhamma factor (five ennobling virtues) Iddhipāda factor (path of accomplishment) and Mayapaññā factor (wisdom that has a way to arise) found a mean value at a high level. The comparison classified by the statuses of key informants showed the indifference with statistical significance. However, the key informants with equal or under 35 and over 46 years old reflected that the administrators showed the different levels of behaviors in Pañca-dhamma factor, InIddhipāda factors and Mayapaññā factors with statistical significance at 0.05. 3. The developed Structural Equation Model of Moral and Ethical Leadership Based on Buddhism was congruent with empirical data as specified criteria of fit indices as follows: P-value of , /df, GFI, AGFI, CFI, SRMR, RMSEA, CN and LSR. 4. Pañca-dhamma factor showed the highest level of total influence on the moral and ethical leadership based on Buddhism at 0.93 with statistical significance at 0.01. The Pañca-dhamma factor showed the direct influence on Iddhipāda at 0.98, and showed indirect influence via Iddhipāda to the moral and ethical leadership based on Buddhism and Mayapaññā at 0.83 and 0.94 respectively with statistical significance at 0.01. The second order, Iddhipāda factor showed the level of total influence on moral and ethical leadership based on Buddhism at 0.85 with statistical significance at 0.01. The Iddhipāda factor showed the direct influence on Mayapaññā and moral and ethical leadership based on Buddhism at 0.96 and 0.81 respectively with statistical significance at 0.01. As for Mayapaññā factor showed no influence on the moral and ethical leadership based on Buddhism. All of 3 causal factors jointly explained the moral and ethical leadership based on Buddhism for 96 %.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ