Search results

6 results in 0.08s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาบุญกริยาวัตถุในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาเทศกาล “บลอย ฆา เนอ วา” ในเทศกาลเข้าพรรษาของ ชาติพันธุ์ดาราอาง 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการอนุรักษ์เทศกาล “บลอย ฆา เนอ วา” ของชาติพันธุ์ดาราอาง บ้านห้วยจะนุ ตำบลม่อนปิ่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างที่ทำการเลือกโดยเฉพาะเจาะจงประกอบด้วย พระสงฆ์จำนวน 2 รูป มัคนายกจำนวน 1 คน ผู้นำชุมชนจำนวน 1 คน ดาบูเมิง (ผู้ประกอบพิธีกรรมความเชื่อเกี่ยวกับเจ้าเมืองและวิญญาณ) จำนวน 1 คน กรรมการและไวยาวัจกรวัดจำนวน 5 คน ผู้อาวุโสในชุมชนจำนวน 3 คน ชาวบ้านจำนวน 3 คน รวมทั้งหมด 16 สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเนื่องจากการวิจัยเรื่องนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพการวิเคราะห์ข้อมูลจึงใช้การวิเคราะห์พรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1. บุญกิริยาวัตถุ 3 ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือการทำความดี โดยการให้ทาน รักษาศีล และการภาวนา 2. เทศกาล “บลอย ฆา เนอ วา” เป็นเทศกาลเข้าพรรษาของชาติพันธุ์ดาราอาง โดยการนำเอาการเข้าพรรษาแบบพุทธเถรวาทผสมผสานเข้ากับความเชื่อ วัฒนธรรม แนวคิด วิถีชีวิตดั้งเดิมของชาติพันธุ์ดาราอาง 3. แนวทางการอนุรักษ์เทศกาล “บลอย ฆา เนอ วา” จำเป็นต้องให้ชาวดาราอาง ตระหนักถึงความสำคัญในการรักษาบุญกิริยาวัตถุ 3 ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษา เมื่อเข้าใจอย่างถ่องแท้แล้วย่อม เกิดความรักและห่วงแหนซึ่งเทศกาลอันทรงคุณค่าและเป็นมรดกดั้งเดิมของชาติพันธุ์ดาราอางสืบไป
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาบุญกริยาวัตถุในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาเทศกาล “บลอย ฆา เนอ วา” ในเทศกาลเข้าพรรษาของ ชาติพันธุ์ดาราอาง 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการอนุรักษ์เทศกาล “บลอย ฆา เนอ วา” ของชาติพันธุ์ดาราอาง บ้านห้วยจะนุ ตำบลม่อนปิ่น อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มตัวอย่างที่ทำการเลือกโดยเฉพาะเจาะจงประกอบด้วย พระสงฆ์จำนวน 2 รูป มัคนายกจำนวน 1 คน ผู้นำชุมชนจำนวน 1 คน ดาบูเมิง (ผู้ประกอบพิธีกรรมความเชื่อเกี่ยวกับเจ้าเมืองและวิญญาณ) จำนวน 1 คน กรรมการและไวยาวัจกรวัดจำนวน 5 คน ผู้อาวุโสในชุมชนจำนวน 3 คน ชาวบ้านจำนวน 3 คน รวมทั้งหมด 16 สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเนื่องจากการวิจัยเรื่องนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพการวิเคราะห์ข้อมูลจึงใช้การวิเคราะห์พรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1. บุญกิริยาวัตถุ 3 ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือการทำความดี โดยการให้ทาน รักษาศีล และการภาวนา 2. เทศกาล “บลอย ฆา เนอ วา” เป็นเทศกาลเข้าพรรษาของชาติพันธุ์ดาราอาง โดยการนำเอาการเข้าพรรษาแบบพุทธเถรวาทผสมผสานเข้ากับความเชื่อ วัฒนธรรม แนวคิด วิถีชีวิตดั้งเดิมของชาติพันธุ์ดาราอาง 3. แนวทางการอนุรักษ์เทศกาล “บลอย ฆา เนอ วา” จำเป็นต้องให้ชาวดาราอาง ตระหนักถึงความสำคัญในการรักษาบุญกิริยาวัตถุ 3 ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษา เมื่อเข้าใจอย่างถ่องแท้แล้วย่อม เกิดความรักและห่วงแหนซึ่งเทศกาลอันทรงคุณค่าและเป็นมรดกดั้งเดิมของชาติพันธุ์ดาราอางสืบไป
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study merit-making in Theravada Buddhist philosophy, 2) to study the ‘Bloi Ka Ner Va’ festival during the Buddhist Lent festival of the Dara-Ang ethnic group, and 3) to study conservation guideline of the ‘Bloi Ka Ner Va’ festival of the Dara-Ang ethnic group, Ban Huaicanu, Monpin sub-district, Fang district, Chiang Mai province. Data were collected through in-depth interview from target group that was related to Dara-Ang ethnic group, Ban Huaicanu, Monpin sub-district, Fang district, Chiang Mai province. The collected data were connectedly analyzed in descriptive manner to find the relationship in various veritable aspects and they came out as descriptive presentation. The results of research were found that: 1. The 3 Punnakiriyawatthus in Buddhist Philosophy were to do good deeds by giving alms, to observe the precepts and to practice meditation. 2. The ‘Bloi Ka Ner Va’ festival was the Buddhist Lent festival of the Dara-Ang ethnic group by combining the Buddhist Lent with beliefs, culture, concepts, and the traditional ways of life of the Dara-Ang ethnic group. 3. Regarding the guideline for conservation of the ‘Bloi Ka Ner Va’, the people of the Dara-Ang were required to recognize the importance of preserving 3 Punnakiriyawatthus during the Buddhist Lent festival. When fully understood, they would love and cherish this precious festival and traditional heritage of the Dara-Ang ethnic group.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา,ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556