Search results

1,066 results in 0.08s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตทั่วไป 2) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทและ 3) วิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตทั่วไป พบว่า เป็นการใช้ชีวิตตามแนวทางพุทธจริยศาสตร์ ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ทางจริยธรรม ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ทรงวางไว้เพื่อเป็นมาตรฐานความประพฤติของมนุษย์ ตั้งแต่พื้นฐานเบื้องต้น ท่ามกลางและระดับสูง เพื่อให้มนุษย์ได้ดำเนินชีวิตอันดีงามตามอุดมคติเท่าที่มนุษย์จะขึ้นได้ถึงได้ ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีสติปัญญา มีความสุขอันสมบูรณ์ที่สุด การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า เมื่อดำเนินชีวิตตามหลักเบญจธรรมจะทำให้มีความเมตตากรุณาความปรารถนาดีต่อผู้อื่น เลี้ยงชีพในทางที่สุจริต รู้จักควบคุมตนเองไม่หลงใหลในกามคุณ 5 มีความซื่อตรง และรู้สึกตัวเสมอว่าสิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรทำ และจะส่งผลให้ผู้ปฏิบัติมีความสุขสงบในการดำเนินชีวิต วิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า เบญจธรรม หรือกัลยาณธรรม 5 เป็นธรรมของคนดี หมายถึง ธรรมของคนดี 5 ประการ ทั้งศีล 5 และกัลยาณธรรม 5 ประการนี้ เป็นของคู่กัน จึงเรียกว่า ศีลธรรม กล่าวคือ ศีล เป็นข้อห้าม คือ ห้ามทำ ห้ามล่วงละเมิด ส่วนกัลยาณธรรม เป็นข้ออนุญาตให้ทำ ให้นำไปประพฤติปฏิบัติแล้วจะเกิดผลดีแก่ผู้ปฏิบัติ ทุกคน ได้แก่ ศีล 5 หรือเบญจศีลสำหรับทุกคน
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตทั่วไป 2) เพื่อศึกษาการดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทและ 3) วิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: การดำเนินชีวิตทั่วไป พบว่า เป็นการใช้ชีวิตตามแนวทางพุทธจริยศาสตร์ ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ทางจริยธรรม ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ทรงวางไว้เพื่อเป็นมาตรฐานความประพฤติของมนุษย์ ตั้งแต่พื้นฐานเบื้องต้น ท่ามกลางและระดับสูง เพื่อให้มนุษย์ได้ดำเนินชีวิตอันดีงามตามอุดมคติเท่าที่มนุษย์จะขึ้นได้ถึงได้ ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีสติปัญญา มีความสุขอันสมบูรณ์ที่สุด การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า เมื่อดำเนินชีวิตตามหลักเบญจธรรมจะทำให้มีความเมตตากรุณาความปรารถนาดีต่อผู้อื่น เลี้ยงชีพในทางที่สุจริต รู้จักควบคุมตนเองไม่หลงใหลในกามคุณ 5 มีความซื่อตรง และรู้สึกตัวเสมอว่าสิ่งใดควรทำ สิ่งใดไม่ควรทำ และจะส่งผลให้ผู้ปฏิบัติมีความสุขสงบในการดำเนินชีวิต วิเคราะห์การดำเนินชีวิตด้วยเบญจธรรมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า เบญจธรรม หรือกัลยาณธรรม 5 เป็นธรรมของคนดี หมายถึง ธรรมของคนดี 5 ประการ ทั้งศีล 5 และกัลยาณธรรม 5 ประการนี้ เป็นของคู่กัน จึงเรียกว่า ศีลธรรม กล่าวคือ ศีล เป็นข้อห้าม คือ ห้ามทำ ห้ามล่วงละเมิด ส่วนกัลยาณธรรม เป็นข้ออนุญาตให้ทำ ให้นำไปประพฤติปฏิบัติแล้วจะเกิดผลดีแก่ผู้ปฏิบัติ ทุกคน ได้แก่ ศีล 5 หรือเบญจศีลสำหรับทุกคน
The thesis served its specific purposes: 1) to study a way of leading one’s life in general, 2) to examine the way of leading one’s life with five ennobling virtues in Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze the way as such. As the documentary research, it was derived from the qualitative methodology. Data were studied out of The Tipitaka, commentaries, books and relevant research undertakings, collected between October B.E. 2560 and June B.E. 2561. Results of the research have found the following findings. Leading one’s life in general has passing their lifestyle following guidelines on criteria of Buddhist morality. These criteria were founded by the Buddha to set standards of human behaviours in the order of the onset, middle to the advanced level, in order to let human beings lead their decent lives according to their ideals as far as human being can reach and access, to have them become a complete human being, with excellent wisdom and the complete bliss. Leading the way of one’s life with five ennobling virtues in Theravada Buddhist philosophy has found that leading one’s life as such let them have loving kindness and mercy towards others, earning their honest living, being well aware of controlling themselves, not indulging in five sexual pleasures, having honesty, and perceiving what should be done and what ought not. As such, they will result in making actors happy and peaceful to leading their own lives. Results of analyzing leading the of one’s life with five ennobling virtues in Theravada Buddhist philosophy has proven that five ennobling virtues are attributes of decent followers. Both five ennobling virtues and five precepts are dual-related. As a consequence, both are literally called ‘precepts (sila) and teachings (dharma)’. Buddhist precepts are commands; do not act, do not abuse, whereas teachings are suggestions; should act, ought to be introduced to practise. Certainly, both commands and suggestions yield good results to everyone.
หนังสือ

    การวิจัยเรื่อง วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิกายวัชรยาน เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสง์ 1) เพื่อศึกษาหลักคำสอนในนิกายวัชรยาน 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติตามแนวตันตระในนิการวัชรยาน 3) เพื่อวิเคราะห์วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิการวัชรยาน ผลการวิจัยพบว่า 1. หลักคำสอนในนิกายวัชรยาน พบว่าคำสอนในพุทธศาสนาวัชรยานไม่ว่าจะเป็นหลักพระธรรมวินัยหรือพระไตรปิฎกไม่ได้มีความแตกต่างไปจากพระพุทธศาสนาเถรวาทแต่อย่างใด เพราะสิ่งที่ฝ่ายเถรวาทมี ฝ่ายวัชรยานก็มีเช่นกัน คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก พระพุทธศาสนาวัชรยานเกือบจะเป็นหนึ่งเดียว ในบรรดาพระพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ของโลกในปัจจุบันที่ยังรักษาสมบัติอันมีค่ายิ่งแห่งตันตระประเพณีของพระพุทธศาสนาจากอินเดียไว้ได้ทั้งหมด ตันตระยานปรากฏขึ้นในช่วงสามของชีวิตพระพุทธศาสนาในชมพูทวีป ซึ่งเน้นที่ตันตระวิธีและมันตระยาน นับเป็นมิติพิเศษที่รับรู้ทางรหัสนัยของวัชรยาน คือเน้นที่การปฏิบัติธรรมโดยพื้นฐานว่า พระพุทธเจ้าปรากฏพระองค์กับโยคาวจารอย่างเป็นจริงเป็นจริง ณ ขณะปฏิบัติธรรมนั้น นับเป็นวิธีที่สั่งสอนให้เข้าถึงพุทธภาวะในชาตินี้ หาไม่ก็ภายในอีกไม่กี่ชาติข้างหน้า นับเป็นการเร่งโพธิสัตว์มรรคาของวัชรยาน ที่ผู้ปฏิบัติธรรมอธิษฐานให้ความเป็นสามัญมนุษย์เข้าถึงพุทธภาวะ 2. การปฏิบัติตามแนวตันตระในนิกายวัชรยานพบว่าตันตระแม้จะมีเหตุผลนำไปสู่ความเชื่อและข้อปฏิบัติหลายอย่างที่ไม่เคยปรากฏในพระพุทธศาสนา หลาย ๆ อย่างเอื้อต่อความเข้าใจผิด ไม่ว่าจะเป็นของการละเมิดศีล (ดื่มน้ำเมา) การให้ความสำคัญกับเรื่องเพศ ตลอดจนการยอมรับให้พระชินพุทธเจ้าตลอดจนเทพทั้งหลายมีสัญลักษณ์ภาคคู่ที่เรียกว่า ศักติหรือเทวี ภาพพระชินพุทธเจ้ากำลังโอบกอดเทวีของพระองค์ สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในงานศิลปะทิเบต แม้แต่ในมณฑลบ่อยครั้งที่เราจะเห็นภาพเช่นนี้อยู่เหมือนกัน ดังนั้นการศึกษาการปฏิบัติตันตระ เข้าใจจำเป็นที่เราจะต้องศึกษาความเชื่ออันแฝงอยู่ในสัญลักษณ์เหล่านั้นด้วย เป้าหมายของการปฏิบัติตันตระในเบื้องต้นมุ่งหวังเพื่อที่จะดึงความศรัทธาของประชาชนที่ส่วนใหญ่หันไปให้ความเคารพนับถือวิธีการของฮินดูตันตระให้กลับมานับถือพุทธศาสนาเหมือนเดิม แต่เป้าหมายหลักก็คือการนําเสนอหลักการใหม่เพื่อให้เข้าถึงความหลุดพ้นได้ง่ายกว่าและเร็วกว่าเดิม หากมองผิวเผินอาจดูว่ามีความแปลกประหลาด แต่ถ้าเข้าไปศึกษาการปฏิบัติของตันตระแล้วจะเห็นว่ายังคงมุ่งตรงสู่ความหลุดพ้น เหมือนกับนิกายอื่น ๆ เพียงแต่วิธีการเท่านั้นที่ดูต่างกัน 3. วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิกายวัชรยานพุทธศาสนิกชนชาวพุทธวัชรยานต่างมีวิถีชีวิตที่ยึดมั่นในพุทธศาสนานิกายวัชรยาน วิถีชีวิตประจำวันของชาวพุทธวัชรยานจึงมีศาสนาเป็นเครื่องนำทาง ในทุก ๆ วันแทบทุกคนล้วนต้องมีพิธีกรรมทางตันตระเข้ามาเกี่ยวข้อง ตั้งแต่เช้าก่อนออกจากบ้าน ระหว่างทางเดินจนถึงที่ทำงาน ชาวพุทธวัชรยานบางคนจะกระทำพิธีกรรมทางศาสนาทั้งเวลายืน เดิน นั่ง นอน ด้วยการท่องมนต์ ทำสมาธิ นับลูกประคำและการแกว่งหรือหมุนกงล้อมนตรา จนกลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมประจำชาติ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
การวิจัยเรื่อง วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิกายวัชรยาน เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสง์ 1) เพื่อศึกษาหลักคำสอนในนิกายวัชรยาน 2) เพื่อศึกษาการปฏิบัติตามแนวตันตระในนิการวัชรยาน 3) เพื่อวิเคราะห์วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิการวัชรยาน ผลการวิจัยพบว่า 1. หลักคำสอนในนิกายวัชรยาน พบว่าคำสอนในพุทธศาสนาวัชรยานไม่ว่าจะเป็นหลักพระธรรมวินัยหรือพระไตรปิฎกไม่ได้มีความแตกต่างไปจากพระพุทธศาสนาเถรวาทแต่อย่างใด เพราะสิ่งที่ฝ่ายเถรวาทมี ฝ่ายวัชรยานก็มีเช่นกัน คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก พระพุทธศาสนาวัชรยานเกือบจะเป็นหนึ่งเดียว ในบรรดาพระพุทธศาสนานิกายต่าง ๆ ของโลกในปัจจุบันที่ยังรักษาสมบัติอันมีค่ายิ่งแห่งตันตระประเพณีของพระพุทธศาสนาจากอินเดียไว้ได้ทั้งหมด ตันตระยานปรากฏขึ้นในช่วงสามของชีวิตพระพุทธศาสนาในชมพูทวีป ซึ่งเน้นที่ตันตระวิธีและมันตระยาน นับเป็นมิติพิเศษที่รับรู้ทางรหัสนัยของวัชรยาน คือเน้นที่การปฏิบัติธรรมโดยพื้นฐานว่า พระพุทธเจ้าปรากฏพระองค์กับโยคาวจารอย่างเป็นจริงเป็นจริง ณ ขณะปฏิบัติธรรมนั้น นับเป็นวิธีที่สั่งสอนให้เข้าถึงพุทธภาวะในชาตินี้ หาไม่ก็ภายในอีกไม่กี่ชาติข้างหน้า นับเป็นการเร่งโพธิสัตว์มรรคาของวัชรยาน ที่ผู้ปฏิบัติธรรมอธิษฐานให้ความเป็นสามัญมนุษย์เข้าถึงพุทธภาวะ 2. การปฏิบัติตามแนวตันตระในนิกายวัชรยานพบว่าตันตระแม้จะมีเหตุผลนำไปสู่ความเชื่อและข้อปฏิบัติหลายอย่างที่ไม่เคยปรากฏในพระพุทธศาสนา หลาย ๆ อย่างเอื้อต่อความเข้าใจผิด ไม่ว่าจะเป็นของการละเมิดศีล (ดื่มน้ำเมา) การให้ความสำคัญกับเรื่องเพศ ตลอดจนการยอมรับให้พระชินพุทธเจ้าตลอดจนเทพทั้งหลายมีสัญลักษณ์ภาคคู่ที่เรียกว่า ศักติหรือเทวี ภาพพระชินพุทธเจ้ากำลังโอบกอดเทวีของพระองค์ สามารถพบเห็นได้ทั่วไปในงานศิลปะทิเบต แม้แต่ในมณฑลบ่อยครั้งที่เราจะเห็นภาพเช่นนี้อยู่เหมือนกัน ดังนั้นการศึกษาการปฏิบัติตันตระ เข้าใจจำเป็นที่เราจะต้องศึกษาความเชื่ออันแฝงอยู่ในสัญลักษณ์เหล่านั้นด้วย เป้าหมายของการปฏิบัติตันตระในเบื้องต้นมุ่งหวังเพื่อที่จะดึงความศรัทธาของประชาชนที่ส่วนใหญ่หันไปให้ความเคารพนับถือวิธีการของฮินดูตันตระให้กลับมานับถือพุทธศาสนาเหมือนเดิม แต่เป้าหมายหลักก็คือการนําเสนอหลักการใหม่เพื่อให้เข้าถึงความหลุดพ้นได้ง่ายกว่าและเร็วกว่าเดิม หากมองผิวเผินอาจดูว่ามีความแปลกประหลาด แต่ถ้าเข้าไปศึกษาการปฏิบัติของตันตระแล้วจะเห็นว่ายังคงมุ่งตรงสู่ความหลุดพ้น เหมือนกับนิกายอื่น ๆ เพียงแต่วิธีการเท่านั้นที่ดูต่างกัน 3. วิถีชีวิตตามแนวตันตระในนิกายวัชรยานพุทธศาสนิกชนชาวพุทธวัชรยานต่างมีวิถีชีวิตที่ยึดมั่นในพุทธศาสนานิกายวัชรยาน วิถีชีวิตประจำวันของชาวพุทธวัชรยานจึงมีศาสนาเป็นเครื่องนำทาง ในทุก ๆ วันแทบทุกคนล้วนต้องมีพิธีกรรมทางตันตระเข้ามาเกี่ยวข้อง ตั้งแต่เช้าก่อนออกจากบ้าน ระหว่างทางเดินจนถึงที่ทำงาน ชาวพุทธวัชรยานบางคนจะกระทำพิธีกรรมทางศาสนาทั้งเวลายืน เดิน นั่ง นอน ด้วยการท่องมนต์ ทำสมาธิ นับลูกประคำและการแกว่งหรือหมุนกงล้อมนตรา จนกลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมประจำชาติ ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
This study is an analysis ofThe Way of Life According to Trantra Tradition in Vajrayana Buddhism. This study is qualitative research which aims of study about 1) To study the teaching of Vajrayana Buddhism, 2) To study the Tantra practices according to Vajranaya tradition and 3) To analyze the way of life according to the tantra tradition in Vajrayana Buddhism. The study shows that 1. Inrespect of Vajrayana teaching, Vajrayana followers view their school as not different from Theravada in terms of sharing the monastic codes (Vinaya), discourses (Sutta), and the higher doctrine (Abhidhamma). In addition, It can be said that Vajrayana has its own identity that can preserve the knowledge on Tantra transmitted from India. The esoteric practice of Vajrayana focuses on many aspects such as the Buddhas can reveal their bodies to the practitioners in meditation, while the enlightenment can also be reached in this very life. In consequence, the way of Bodhisattva can be accelerated, in which the practitioners can have determination to attain the Buddha-hood in the form of human beings. 2. Regarding the guideline of Vajranaya, various practices such as drinking alcohol, sexual conduct, and the acceptance of Buddha in the forms of deities (the Buddha embracing his spouse for example), can be assumed as irrational and distorted based on the Theravada idea. In fact, the purpose of Tantra practice is aimed to attract people who are interested in Hindu Tantra to Buddhism. However, according to the Buddhist Tanta in Vajrayana, though this kind of practice is odd, but it is the direct way to enlightenment, which is claimed to be faster and easier than the practices of other schools. Therefore, it still focuses on enlightenment, though the way is different, as can be found in other Buddhist schools. 3. In terms of the way of life according to Vajranaya, Vajranaya followers live their lives on the Vajranaya’s way. They practice Vajranaya in daily life, from waking to sleeping, including the time when they go to work. The rituals can be performed in the positions of standing, walking, sitting, and laying down, by chanting, meditating, counting the Mala, as well as turning around the mantra bells and prayer wheel. These practices ultimately become their culture and identity.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2554
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช และ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ประกอบด้วยวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ประชากร ได้แก่ ประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 4,037คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie and Morgan ได้กลุ่มตัวอย่าง 375 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายเปิดและแบบปลายปิด สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผู้ที่ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 5 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured) แล้วนำมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหาประกอบบริบท ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านฉันทะ(สุขภาพ) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (x ̅ = 2.75) รองลงมา ได้แก่ ด้านวิมังสา (สติปัญญา) (x ̅ = 2.70) ส่วนด้านจิตตะ (ความสัมพันธ์ทางสังคม) (x ̅ = 2.64) และด้านวิริยะ (อารมณ์) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (x ̅ = 2.40) ตามลำดับ 2) ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช คือ ประชาชนไม่ให้ความสำคัญในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ชุมชนจัดขึ้น คนในชุมชนมีการเอารัดเอาเปรียบกัน ความไม่เสมอภาคในการอยู่ร่วมกัน เกิดความไม่ไว้ใจซึ่งกันและกัน มีความกังวลเรื่องความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ขาดความรู้ความเข้าใจในการเลือกบริโภคอาหารหลัก 5 หมู่ ที่ถูกต้อง ขาดแคลนน้ำอุปโภค บริโภค ไม่ได้รับคำแนะนำเพื่อเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ และติดตามการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างถูกต้อง 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จากการสัมภาษณ์ พบว่าหน่วยงานภาครัฐหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีเจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำการพัฒนาคุณภาพชีวิตและหลักพุทธธรรมแก่ชุมชนทั้งในมิติด้านสุขภาพ ด้านอารมณ์ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคมและด้านสติปัญญา โดยใช้แนวทางในการให้คำแนะนำการสนับสนุนส่งเสริมและการอบรมเพิ่มพูนปัญญาและคุณธรรม
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช และ 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) ประกอบด้วยวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ประชากร ได้แก่ ประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 4,037คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie and Morgan ได้กลุ่มตัวอย่าง 375 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายเปิดและแบบปลายปิด สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผู้ที่ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 5 คน การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์เชิงลึกแบบไม่มีโครงสร้าง (Unstructured) แล้วนำมาวิเคราะห์เชิงเนื้อหาประกอบบริบท ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านฉันทะ(สุขภาพ) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (x ̅ = 2.75) รองลงมา ได้แก่ ด้านวิมังสา (สติปัญญา) (x ̅ = 2.70) ส่วนด้านจิตตะ (ความสัมพันธ์ทางสังคม) (x ̅ = 2.64) และด้านวิริยะ (อารมณ์) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (x ̅ = 2.40) ตามลำดับ 2) ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช คือ ประชาชนไม่ให้ความสำคัญในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่ชุมชนจัดขึ้น คนในชุมชนมีการเอารัดเอาเปรียบกัน ความไม่เสมอภาคในการอยู่ร่วมกัน เกิดความไม่ไว้ใจซึ่งกันและกัน มีความกังวลเรื่องความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ขาดความรู้ความเข้าใจในการเลือกบริโภคอาหารหลัก 5 หมู่ ที่ถูกต้อง ขาดแคลนน้ำอุปโภค บริโภค ไม่ได้รับคำแนะนำเพื่อเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ และติดตามการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในชุมชนอย่างถูกต้อง 3) ข้อเสนอแนะแนวทางการการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักพุทธธรรมของประชาชนในชุมชนท้องลำเจียก อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช จากการสัมภาษณ์ พบว่าหน่วยงานภาครัฐหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องควรจัดให้มีเจ้าหน้าที่ให้คำแนะนำการพัฒนาคุณภาพชีวิตและหลักพุทธธรรมแก่ชุมชนทั้งในมิติด้านสุขภาพ ด้านอารมณ์ ด้านความสัมพันธ์ทางสังคมและด้านสติปัญญา โดยใช้แนวทางในการให้คำแนะนำการสนับสนุนส่งเสริมและการอบรมเพิ่มพูนปัญญาและคุณธรรม
The objectives of this thesis are as follows: 1) To study Life quality Development according to Buddha dhamma of people in Thonglumgeak community, Chian Yai District, Nakhon Si Thammarat Province 2) to study the problems and obstacles in Life quality Development according to Buddha dhamma of people in Thonglumgeak community, Chian Yai District, Nakhon Si Thammarat Province. 3. To recommend Life quality Development according to Buddha dhamma of people in Thonglumgeak community, Chian Yai District, Nakhon Si Thammarat Province. This is the mixes method research, the quantitative research the samples are people in Thonglumgeak community. Chian Yai District, Nakhon Si Thammarat Province for 4,037 persons sample size by Krejcie and Morgan measurement, the samples were 375 persons. The data collection with both closed and open ended question. The statistics composed of frequency, percentage, mean, standard deviation and qualitative research composed of five key informants, using purposive sampling data collection by in depth interview with (non structure) and analysis by descriptive analysis. The results of research were found that : 1. The research results showed that the life quality development according to the Buddha dhamma of people in Thonglumgeak community, Chian Yai District, Nakhon Si Thammarat Province by overall was at a moderate level. When classified by aspect, it was found that the aspect of health (Chandha) is the highest mean (x ̅=2.75, and followed by the aspect of wisdom (Vimansa) (x ̅ = 2.70) and the aspect of social relation (Chitta) (x ̅ = 2.64) and the aspect of Emotion was the lowest mean (x ̅ = 2.40) respectively 2. Problems and obstacles in life quality development according to the Buddha dhamma of people in Thonglumgeak community, Chian Yai District, Nakhon Si Thammarat Province is that people are not make important in activities in community, selfish, unequal, untrusty each others, there are worry about safety in life and wealth, lake of knowledge in healthy food, lake of drinking water, without suggestion in skills and experiences and follow up the community environment changing as righteously. 3. Recommendations for life quality development according to the Buddha dhamma of people in Thonglumgeak community, Chian Yai District, Nakhon Si Thammarat Province by in depth interview found that; The government offices or concerning organization should have staffs for suggestion of life quality development and Buddha Dhamma principle in community in term of health emotion social relation and wisdom with support in promotion of wisdom and virtue.