Search results

23 results in 0.16s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาแนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษของบิดามารดา 3) เพื่อหาแนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท กลุ่มเป้าหมาย คือ บิดามารดาที่เลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษ จำนวน 15 ครอบครัว ที่เลี้ยงดูบุตรธิดาที่เป็นออทิสติก โดยใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจง จากสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ อำเภอแม่ริม เชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1) การเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า หลักธรรมในพุทธศาสนาที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในครอบครัว เพื่อการเลี้ยงดูบุตรธิดา คือ พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 ฆราวาสธรรม 4 เบญจศีล ทิศ 6 และไตรสิกขา 3 2) การเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษของบิดามารดา พบว่า บิดามารดาปฏิบัติตามแนวทางการเลี้ยงดูเด็กพิเศษ จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางการรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กพิเศษ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ โดยเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการที่บกพร่องให้เป็นไปตามหลักพัฒนาการเด็ก 4 ด้าน คือ ด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคม 3) แนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทพบว่า บิดามารดา ได้นำแนวทางการเลี้ยงดูเด็กพิเศษมาเป็นแนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ด้วยความตั้งใจ และความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบในการเลี้ยงดูบุตรธิดา พร้อมศึกษาหาแนวทางในการเลี้ยงดูบุตรธิดาทุกระยะ ซึ่งหลักการปฏิบัติของบิดามารดา ตรงกับหลักธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท ในหลักไตรสิกขา 3 คือ การมี อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญญาสิกขา
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาแนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษของบิดามารดา 3) เพื่อหาแนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท กลุ่มเป้าหมาย คือ บิดามารดาที่เลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษ จำนวน 15 ครอบครัว ที่เลี้ยงดูบุตรธิดาที่เป็นออทิสติก โดยใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจง จากสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ อำเภอแม่ริม เชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1) การเลี้ยงดูบุตรธิดาตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท พบว่า หลักธรรมในพุทธศาสนาที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในครอบครัว เพื่อการเลี้ยงดูบุตรธิดา คือ พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 ฆราวาสธรรม 4 เบญจศีล ทิศ 6 และไตรสิกขา 3 2) การเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษของบิดามารดา พบว่า บิดามารดาปฏิบัติตามแนวทางการเลี้ยงดูเด็กพิเศษ จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางการรักษาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กพิเศษ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ โดยเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการที่บกพร่องให้เป็นไปตามหลักพัฒนาการเด็ก 4 ด้าน คือ ด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ และสังคม 3) แนวทางการเลี้ยงดูบุตรธิดาที่มีความต้องการพิเศษตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาทพบว่า บิดามารดา ได้นำแนวทางการเลี้ยงดูเด็กพิเศษมาเป็นแนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ด้วยความตั้งใจ และความมีระเบียบวินัย ความรับผิดชอบในการเลี้ยงดูบุตรธิดา พร้อมศึกษาหาแนวทางในการเลี้ยงดูบุตรธิดาทุกระยะ ซึ่งหลักการปฏิบัติของบิดามารดา ตรงกับหลักธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท ในหลักไตรสิกขา 3 คือ การมี อธิศีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญญาสิกขา
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study the raising of children according to Theravada Buddhist Philosophy, 2) to study the guidelines for raising children with special needs of parents, 3) to find guidelines for raising children according to Theravada Buddhist philosophy. The target group was parents of 15 families raising their children with special needs who were raising their children with autism by purposive selection from Rajanagarindra Institute of Child Development, Mae Rim district, Chiang Mai. The instrument used for data collection was an in-depth interview and data were analyzed by descriptive method. The results of research were found that: 1) In raising children according to Theravada Buddhist philosophy, it was found that Buddhist principles could be applied in families for raising children, namely, 4 Brahmavihārās, 4 Saṅgahavatthus, 4 Gharāvāsadhammas, 5 Sīlas, 6 Disas and 3 Sikkhās. 2) In raising children with special needs of parents, it was found that parents followed the guidelines for raising special children from specialists in treating and promoting the development of special children from Rajanagarindra Institute of Child Development by raising and promoting developmental defects in accordance with the principles of child development in 4 areas; physical, mental, emotional and social. 3) The guidelines for raising children with special needs according to Theravada Buddhist philosophy was found that parents had continually adopted special childcare guidelines as a guideline with intention and discipline, responsibility for raising children. They were ready to study and find guidelines to raise children at every stage and the principles of conduct of parents corresponded to the Buddhist principles in Theravada Buddhist philosophy as 3 Sikkhās, namely, the upholding of Sīlasikkhā, Cittasikkhā and Paññāsikhā.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553