Search results

77 results in 0.15s

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • การวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณ
  • การวิเคราะห์องค์ประกอบ
  • การวิเคราะห์การถดถอยพหุ
  • ความเข้าใจเบื้องต้นในโมเดลสมการโครงสร้าง
  • การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน
  • การวิเคราะห์เส้นทาง
  • การวิเคราะห์จำแนกประเภท
  • การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติก
  • การวิเคราะห์การจัดกลุ่ม.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 อำนาจของวาทกรรม
  • บทที่ 3 วาทกรรมแนววิพากษ์กับการศึกษาการพัมนาในสังคมไทย
  • บทที่ 4 การวิเคราะห์วาทกรรมการพัฒนาแนวฟูโกต์ : การต่อต้านขัดขืนอำนาจการพัฒนา
  • บทที่ 5 การวิเคราะห์วาทกรรมแนววิพกาษ์ของ นอร์แมน แฟร์คลัฟ
  • บทที่ 6 ธีโอ ฟาน ลูเวน กับสัญวิทยาทางสังคม
  • บทที่ 7 การศึกษาการพัฒนาในฐานะการเคลื่อไหวสนามวาทกรรม
  • บทที่ 8 การวิเคราะห์วาทกรรมแนววิพากษ์ในการศึกษาการพัฒนา
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 ความสำคัญของการศึกษาการวิเคราะห์นโยบายและการวางแผนแบบปรึกษาหารือในบริบทของไทย
  • บทที่ 2 แนวคิด Habermas กับการท้าทายกระบวนทัศน์นโยบายและการวางแผนแบบดั้งเดิม
  • บทที่ 3 ญาณวิทยาของการปรึกษาหารือ
  • บทที่ 4 พรมแดนและจุดมุ่งเน้นของกระบวนทัศน์
  • บทที่ 5 วิธีวิทยาของกระบวนทัศน์
  • บทที่ 6 ตัวอย่างแนวปฏิบัติของการวิเคราะห์นโยบายและากรวางแผนแบบปรึกษาหารือ
  • บทที่ 7 จากแนวปฏิบั้ติย้อนกลับคืนสู่แนวคิด
  • บทที่ 8 สรุปคุณูปการและมองไปข้างน้าสู่การรับมือกับข้อจำกัด
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.บ.) สาขาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2548
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.บ.) สาขาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2548
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาความเชื่อในพญานาคตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาความเชื่อเรื่องพญานาคของชาวบ้านด่าน ตำบลสามแยก อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร และ 3) เพื่อวิเคราะห์ความเชื่อในพญานาคตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทของชาวบ้านด่าน ตำบลสามแยก อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เชิงพรรณนาแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. ความเชื่อในพญานาคตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ผลการศึกษา พบว่า พญานาคเป็นสัตว์กึ่งเทพ เสวยทิพย์สมบัติบนสวรรค์วิมานดุจดั่งเทวดาถ้าปรากฏในลักษณะกึ่งเทพก็จะมีลักษณะเป็นมนุษย์ ถ้าปรากฏในลักษณะเป็นสัตว์ก็เป็นงูที่แผ่พังพานมีขนาดยาวใหญ่กว่างูธรรมดา มีกายสีต่างกันตามตระกูล เช่น ตระกูลวิรูปักษ์ เป็นนาคมีผิวกายสีทองเป็นราชาของนาคทั้งสี่ประเภท พญานาคแบ่งตามหน้าที่ออกเป็น 4 พวก คือ (1) นาคสวรรค์ มีหน้าที่เฝ้าวิมานของเทวดา (2) นาคกลางหาว มีหน้าที่ให้ลมให้ฝน (3) นาคโลกบาล มีหน้าที่รักษาแม่น้ำลำธาร และ (4) นาครักษาขุมทรัพย์ มีหน้าที่รักษาขุมทรัพย์ในดินและป่าไม้ พญานาคแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คือ (1) กามรูปีพญานาค พญานาคที่เสวยกามคุณ และ (2) อพามรูปีพญานาค พญานาคที่ไม่เสวยกามคุณ นอกจากนี้ยังได้แบ่งพญานาคออกเป็นตระกูลย่อยๆ ออกไปอีกถึง 1,024 ชนิด 2. ความเชื่อเรื่องพญานาคของชาวบ้านด่าน ผลการศึกษาพบว่า ชาวบ้านด่านและประชาชนที่อาศัยในแถบลุ่มน้ำโขงเคารพบูชาพญานาคว่า เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ขอพรให้ป้องกันภัย ให้เกิดความอุดมสมบูรณ์และขอโชคลาภ จากความเชื่อดังกล่าว ทำให้สังคมไทยแถบลุ่มน้ำโขง เกิดแนวคิดใหม่ในพิธีกรรม ศิลปกรรมประเพณีกรรม เช่น การปล่อยเรือไฟบูชาแม่น้ำและเจ้าแห่งน้ำ คือพญานาคพัฒนาไปสู่การท่องเที่ยวควบคู่กันไป พญานาคก็ยังคงเป็นสิ่งที่คนไทยเคารพเชื่อถือเป็นเครื่องร้อยรัดคนไทยเข้ากับความเชื่อที่เกิดขึ้นมาโดยตลอด 3. วิเคราะห์ความเชื่อในพญานาคตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ของชาวบ้านด่าน ตำบลสามแยก อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ผลการวิจัยพบว่า ชาวบ้านด่าน เชื่อในความมีอยู่จริง และความมีอิทธิฤทธิ์ของพญานาค เพราะเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น เช่น รอยแยกตัวของผิวถนนขึ้น มีผู้ถ่ายภาพรอยถนนแยกไว้ เป็นภาพประหลาดคลายหลังพญานาค ปรากฏการณ์รอยประหลาดที่เกิดขึ้นริมฝั่งโขงและอีกรอยบนหน้ารถของชาวบ้านที่จอดหน้าวัดสุมังคลาราม บ้านด่าน ส่งผลให้ชาวบ้านด่านบูชาพญานาคเพื่อของฝนขอน้ำมาทำการเกษตรและบูชาเพื่อโชคลาภจากพญานาคตามสมัยนิยมในสังคมไทยปัจจุบัน ทำให้ชาวบ้านด่านเคารพพญานาคในฐานะของเทพผู้มีอิทธิฤทธิ์และบันดาลสิ่งที่พวกเขาต้องการให้สำเร็จได้ มากกว่าฐานะที่เป็นสัตว์เดรัจฉานกึ่งเทพที่ต้องเวียนว่ายตายเกิดเช่นมนุษย์ และผู้มีศรัทธาต่อพระพุทธศาสนายอมรับนับถือเอาพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง และค่อยดูแลปกป้องพระพุทธสาสนาตามหน้าที่ของผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาความเชื่อในพญานาคตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาความเชื่อเรื่องพญานาคของชาวบ้านด่าน ตำบลสามแยก อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร และ 3) เพื่อวิเคราะห์ความเชื่อในพญานาคตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทของชาวบ้านด่าน ตำบลสามแยก อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เชิงพรรณนาแบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. ความเชื่อในพญานาคตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ผลการศึกษา พบว่า พญานาคเป็นสัตว์กึ่งเทพ เสวยทิพย์สมบัติบนสวรรค์วิมานดุจดั่งเทวดาถ้าปรากฏในลักษณะกึ่งเทพก็จะมีลักษณะเป็นมนุษย์ ถ้าปรากฏในลักษณะเป็นสัตว์ก็เป็นงูที่แผ่พังพานมีขนาดยาวใหญ่กว่างูธรรมดา มีกายสีต่างกันตามตระกูล เช่น ตระกูลวิรูปักษ์ เป็นนาคมีผิวกายสีทองเป็นราชาของนาคทั้งสี่ประเภท พญานาคแบ่งตามหน้าที่ออกเป็น 4 พวก คือ (1) นาคสวรรค์ มีหน้าที่เฝ้าวิมานของเทวดา (2) นาคกลางหาว มีหน้าที่ให้ลมให้ฝน (3) นาคโลกบาล มีหน้าที่รักษาแม่น้ำลำธาร และ (4) นาครักษาขุมทรัพย์ มีหน้าที่รักษาขุมทรัพย์ในดินและป่าไม้ พญานาคแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คือ (1) กามรูปีพญานาค พญานาคที่เสวยกามคุณ และ (2) อพามรูปีพญานาค พญานาคที่ไม่เสวยกามคุณ นอกจากนี้ยังได้แบ่งพญานาคออกเป็นตระกูลย่อยๆ ออกไปอีกถึง 1,024 ชนิด 2. ความเชื่อเรื่องพญานาคของชาวบ้านด่าน ผลการศึกษาพบว่า ชาวบ้านด่านและประชาชนที่อาศัยในแถบลุ่มน้ำโขงเคารพบูชาพญานาคว่า เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ขอพรให้ป้องกันภัย ให้เกิดความอุดมสมบูรณ์และขอโชคลาภ จากความเชื่อดังกล่าว ทำให้สังคมไทยแถบลุ่มน้ำโขง เกิดแนวคิดใหม่ในพิธีกรรม ศิลปกรรมประเพณีกรรม เช่น การปล่อยเรือไฟบูชาแม่น้ำและเจ้าแห่งน้ำ คือพญานาคพัฒนาไปสู่การท่องเที่ยวควบคู่กันไป พญานาคก็ยังคงเป็นสิ่งที่คนไทยเคารพเชื่อถือเป็นเครื่องร้อยรัดคนไทยเข้ากับความเชื่อที่เกิดขึ้นมาโดยตลอด 3. วิเคราะห์ความเชื่อในพญานาคตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ของชาวบ้านด่าน ตำบลสามแยก อำเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร ผลการวิจัยพบว่า ชาวบ้านด่าน เชื่อในความมีอยู่จริง และความมีอิทธิฤทธิ์ของพญานาค เพราะเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น เช่น รอยแยกตัวของผิวถนนขึ้น มีผู้ถ่ายภาพรอยถนนแยกไว้ เป็นภาพประหลาดคลายหลังพญานาค ปรากฏการณ์รอยประหลาดที่เกิดขึ้นริมฝั่งโขงและอีกรอยบนหน้ารถของชาวบ้านที่จอดหน้าวัดสุมังคลาราม บ้านด่าน ส่งผลให้ชาวบ้านด่านบูชาพญานาคเพื่อของฝนขอน้ำมาทำการเกษตรและบูชาเพื่อโชคลาภจากพญานาคตามสมัยนิยมในสังคมไทยปัจจุบัน ทำให้ชาวบ้านด่านเคารพพญานาคในฐานะของเทพผู้มีอิทธิฤทธิ์และบันดาลสิ่งที่พวกเขาต้องการให้สำเร็จได้ มากกว่าฐานะที่เป็นสัตว์เดรัจฉานกึ่งเทพที่ต้องเวียนว่ายตายเกิดเช่นมนุษย์ และผู้มีศรัทธาต่อพระพุทธศาสนายอมรับนับถือเอาพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง และค่อยดูแลปกป้องพระพุทธสาสนาตามหน้าที่ของผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนา
The objectives of this thesis were as follows : 1) to study the belief on King Nagas according to the Theravada Buddhist philosophy, 2) to study the belief on King Nagas of Ban Dan villagers, Sam Yaek Sub-district, Loeng Nok Tha District, Yasothon Province and 3) to analyze the belief on King Nagas according to the Theravada Buddhist Philosophy of Ban Dan villagers, Sam Yaek Sub-district, Loeng Nok Tha District, Yasothon Province. This study was a qualitative research study and using the data obtained in inductive descriptive analysis. The results of research found that : 1. Belief in the Naga according to Theravada Buddhist Philosophy, The results of the study revealed that King Nagas were a semi-divine animal, eat the heavenly treasures like angels. When they appeared in a semi-divine form, they would look like human beings. When they appeared in the form of an animal, it would be a snake that spread a rooster with a length larger than a normal snake. Having a different body colors according to their species, such as the Virupaksa, a King Naga with a golden skin is the king of the four types of King Nagas. King Nagas were divided according to their duties into 4 groups: (1) the heavenly King Nagas were responsible for guarding the heavens of the deity, (2) King Nagas in the middle of the hail were responsible for the wind and rain, (3) the Nagalokaban Nagas were responsible for protecting rivers and streams and (4) the treasure preservation King Nagas were responsible for maintaining treasures in the soil and forests. King Nagas divided into 2 major types: (1) Kama Rupee Naga, having sensual for pleasures and (2) Apama Rupee King Naga who is without having sensual for pleasures. In addition, the King Nagas divided into sub-families of up to 1,024 species. 2. The results of a study on beliefs in the King Nagas of Ban Dan villagers found that the villagers of Ban Dan and people living in the Mekong region worship the King Nagas as sacred. Pray for safety from danger, abundance and fortune. From such beliefs, it was occurred a new idea for rituals traditional arts to Thai society in the Mekhong region such as light boat flowing to worship the river and lord of river, namely the King Nagas which evolved into tourism concurrently. The serpent is still something that Thai people respect and trust as a string tying the Thai people in line with the belief that has always occurred. 3. To analysis of beliefs in the King Nagas based on Theravada Buddhist Philosophy of Ban Dan villagers, Sam Yaek Sub-district, Loeng Nok Tha District, Yasothon Province. The results found that the villagers believed in the story of the King Nagas and their power cause of various events such as the fissure in the road which someone took them which looked like the King Nagas’ back. The phenomenon of strange occurred along the Mekong’s banks, and another marks on front of the villagers’car parked in front of Wat Sumangkhalaram, Ban Dan, Yasothon Province. As a result, villagers worship the King Nagas to request for rain for as to get some water for farming and worship for fortune from the King Nagas according to the current popular in Thai society. So Ban Dan villagers respected the King Naga as a magical powerful God which enable to inspire what they wanted to be accomplished rather than being a demigod that had to rebirth a human being, and those who believes in Buddhism, respecting the Triple Gem, took care and protected the Buddhism in accordance with the duties of those who believed in Buddhism.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาหน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาหน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ผลการศึกษาพบว่า หน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อศิษย์ ดังนี้ 1) การแนะนำดี 2) ให้เรียนดี 3) บอกศิษย์ด้วยดีด้วยศิลปวิทยาทั้งหมด 4) ยกย่องให้ปรากฏในเพื่อนฝูง และ 5) ทำความป้องกันในทิศทั้งหลาย หน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อครูอาจารย์ ดังนี้ 1) ลุกขึ้นต้อนรับ 2) เข้าไปคอยรับใช้ใกล้ชิด 3) เชื่อฟังคำสั่งสอน 4) ปรนนิบัติรับใช้ และ 5) ศึกษาหรือเรียนศิลปวิทยาด้วยความเคารพ ผลการวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นอาจารย์และศิษย์ที่ดีตามหน้าที่ในทางพระพุทธศาสนา ต้องเป็นผู้ที่มีความเสียสละเวลาที่เป็นส่วนตัวของตนเอง พร้อมยอมมอบเวลาให้กับศิษย์ได้ตลอดเวลา ด้วยความรักความเมตตากรุณาต่อศิษย์ อยากเห็นศิษย์ของตนเองสำเร็จการศึกษาและนำวิชาความรู้ที่ได้รับนั้นไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวัน ทั้งในด้านอาชีพการงานที่ใช้เลี้ยงตนเองและครอบครัว ทั้งในส่วนของกิริยามารยาทในการอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคม ทั้งศิษย์ต้องมีความกตัญญูรู้คุณของครูอาจารย์ ด้วยการประพฤติตัวเป็นคนดีมีความรู้คู่คุณธรรมของสังคมด้วย
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาหน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาหน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ผลการศึกษาพบว่า หน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อศิษย์ ดังนี้ 1) การแนะนำดี 2) ให้เรียนดี 3) บอกศิษย์ด้วยดีด้วยศิลปวิทยาทั้งหมด 4) ยกย่องให้ปรากฏในเพื่อนฝูง และ 5) ทำความป้องกันในทิศทั้งหลาย หน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อครูอาจารย์ ดังนี้ 1) ลุกขึ้นต้อนรับ 2) เข้าไปคอยรับใช้ใกล้ชิด 3) เชื่อฟังคำสั่งสอน 4) ปรนนิบัติรับใช้ และ 5) ศึกษาหรือเรียนศิลปวิทยาด้วยความเคารพ ผลการวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นอาจารย์และศิษย์ที่ดีตามหน้าที่ในทางพระพุทธศาสนา ต้องเป็นผู้ที่มีความเสียสละเวลาที่เป็นส่วนตัวของตนเอง พร้อมยอมมอบเวลาให้กับศิษย์ได้ตลอดเวลา ด้วยความรักความเมตตากรุณาต่อศิษย์ อยากเห็นศิษย์ของตนเองสำเร็จการศึกษาและนำวิชาความรู้ที่ได้รับนั้นไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวัน ทั้งในด้านอาชีพการงานที่ใช้เลี้ยงตนเองและครอบครัว ทั้งในส่วนของกิริยามารยาทในการอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคม ทั้งศิษย์ต้องมีความกตัญญูรู้คุณของครูอาจารย์ ด้วยการประพฤติตัวเป็นคนดีมีความรู้คู่คุณธรรมของสังคมด้วย
The objectives of this thesis were : 1) to study the duty of teachers in Theravada Buddhist philosophy, 2) to study the duty of students in Theravada Buddhist philosophy and 3) to analyze the duty of teachers and students in Theravada Buddhist philosophy which was a qualitative research by studying the Tripitaka, commentaries, books, documents, related research and another. The results of research found that 1) The duty of teachers in Theravada Buddhist philosophy were to perform their duty to their students as follows: 1) giving good advice, 2) studying well, 3) teaching students well with all the arts, 4) praising them to their friends and 5) making defenses in all directions. 2) The duty of the disciples in Theravada Buddhist philosophy was to perform their duty to teachers as follows: 1) getting up to welcome, 2) serving closely, 3) obeying the instruction, 4) serving and 5) studying all the arts with respect. 3) The results of an analysis of the duty of teachers and students in Theravada Buddhist philosophy were who known as good teachers and students according to their duties in Buddhism must be a person who has sacrificed their own private time at any time with love and kindness towards the disciples. Yearning to appreciate the achievements of the disciples and be able to apply the knowledge gained in daily life. Both in terms of career that were used to support themselves and their families, the etiquette of social coexistence, gratitude to the teachers by behaving a good person with knowledge and morality of society. Keywords : Duty, Teachers and students, Theravada Buddhist philosophy
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551