Search results

88 results in 0.14s

หนังสือ

    การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง 2) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3-10 จำนวน 201 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 676 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 17 องค์ประกอบ 115 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า มี 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การดำเนินงาน 2) กระบวนการบริหารงานวิชาการ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การมีส่วนร่วมการศึกษา และ 5) ควบคุมคุณภาพการศึกษา และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบหลักควบคุมคุณภาพการศึกษา มีค่ามากที่สุด รองลงมา คือ กระบวนการบริหารงานวิชาการ กิจกรรมการเรียนรู้ การดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการศึกษา ตามลำดับ และรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992 และ RMSER = .000 แสดงว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 (X ̅ = 4.42) ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดคือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงถือว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง 2) สร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3-10 จำนวน 201 โรง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานวิชาการ หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ และครูผู้สอน รวม 676 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบสอบถาม และแบบประเมินที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 เก็บข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน พ.ศ. 2561 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า : 1. องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตำรา ที่เกี่ยวกับงานวิชาการ สัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า ได้ร่างองค์ประกอบ 17 องค์ประกอบ 115 ตัวแปร 2. ผลการสร้างรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภาคกลาง จากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) พบว่า มี 5 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การดำเนินงาน 2) กระบวนการบริหารงานวิชาการ 3) กิจกรรมการเรียนรู้ 4) การมีส่วนร่วมการศึกษา และ 5) ควบคุมคุณภาพการศึกษา และจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) พบว่า องค์ประกอบหลักควบคุมคุณภาพการศึกษา มีค่ามากที่สุด รองลงมา คือ กระบวนการบริหารงานวิชาการ กิจกรรมการเรียนรู้ การดำเนินงาน และการมีส่วนร่วมในการศึกษา ตามลำดับ และรูปแบบการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าสถิติทางไค-สแควร์ = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992 และ RMSER = .000 แสดงว่ารูปแบบมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ 3. การประเมินและรับรองรูปแบบจากผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ ในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ พบว่า ผลการประเมินรูปแบบในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 (X ̅ = 4.42) ซึ่งผ่านเกณฑ์การรับรองที่ผู้วิจัยกำหนดคือ ต้องมีค่ามากกว่า 3.51 จึงถือว่าผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้น
The purposes of this research were as follows : 1) to study the components of the academic administration in secondary schools in the central region of the Office of Basic Education Commission, 2) to create an academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission, and 3) to evaluate and affirm the academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected by questionnaires with reliability at 0.98, structural interviews and checklist forms from 676 samples consisting of school directors, vice academic directors, heads of academic department and teachers in 201 secondary schools under Office of the Basic Education Commission area 3-10. The data were collected from September 2018 to February 2019 and then analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, exploratory factor analysis, and confirmatory factor analysis. The results of this research found that : 1. The components of the academic administration of the secondary schools in the central region of the Office of Basic Education Commission consist of 17 components and 115 variables. 2. The academic administration model of the secondary schools in the central region of the Office Basic Education Commission from exploratory factor analysis (EFA) has 5 main components; 1) Operation, 2) Academic administration process, 3) Learning activities, 4) Educational participation, and 5) Educational quality control. The results of confirmatory factor analysis (CFA) indicated that the highest value was on Educational quality control, followed by Learning activities, Operation, and Educational participation respectively. The model of academic administration for secondary school administrators has a chi-square value = 1.829, DF = 6, P-value = .935, GFI = 1.00, AGFI = .992, and RMSER - .000. This result indicates that the model is consistent with the empirical data. 3. The evaluation and confirmation of the model from experts in its propriety, accuracy, feasibility, and utility is at  = 4.42, higher than the set criteria at  = 3.51. That means the model is approved.
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเป้าหมายการวิจัย ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 90 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม โดยมีค่าความเชื่อมั่นด้านสภาพปัจจุบัน เท่ากับ 0.92 และด้านสภาพที่พึงประสงค์ เท่ากับ 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (μ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) และดัชนีการจัดเรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (PNImodified) ผลการวิจัยพบว่า: 1. สภาพปัจจุบันการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และด้านการวัดและประเมินผล และมีสภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และด้านการวัดและประเมินผล 2. ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ด้านที่มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด คือ ด้านการวัดและประเมินผล รองลงมา คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการนิเทศการศึกษา และด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ตามลำดับ 3.
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเป้าหมายการวิจัย ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพื้นฐาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 90 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม โดยมีค่าความเชื่อมั่นด้านสภาพปัจจุบัน เท่ากับ 0.92 และด้านสภาพที่พึงประสงค์ เท่ากับ 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (μ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (σ) และดัชนีการจัดเรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (PNImodified) ผลการวิจัยพบว่า: 1. สภาพปัจจุบันการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และด้านการวัดและประเมินผล และมีสภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปหาต่ำสุด ได้แก่ ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และด้านการวัดและประเมินผล 2. ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา อำเภอปทุมรัตต์ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ด้านที่มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด คือ ด้านการวัดและประเมินผล รองลงมา คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการนิเทศการศึกษา และด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ตามลำดับ 3.
ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักสังคหวัตถุ 4 มีดังนี้ 1) ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ควรมีส่วนร่วมในการศึกษาและจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความทันสมัย โดยร่วมกันประชุมระดมความคิดด้วยความเสมอภาคเพื่อพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบทท้องถิ่น 2) ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ควรมีส่วนร่วมในการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีคุณภาพ ร่วมกันจัดหางบประมาณ ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการติดตาม ประเมินผล และส่งเสริมให้ชุมชนพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นให้มีคุณภาพ 3) ด้านการวัดและประเมินผล ควรมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและยกย่องนักเรียนที่มีพัฒนาการด้านการเรียนที่ดี ร่วมถึงเป็นผู้สื่อสารกับผู้ปกครองเพื่อช่วยเหลือนักเรียนร่วมกัน และมีส่วนร่วมออกแบบการวัดและประเมินผลให้สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่น และ 4) ด้านการนิเทศการศึกษา ควรมีส่วนร่วมในการชื่นชมและเผยแพร่ผลงานที่ดีของครูและนักเรียนต่อชุมชน รับฟังความคิดเห็นของทุกฝ่ายและการวางตัวเป็นกลางในการนิเทศการศึกษา ให้ข้อเสนอแนะด้วยความจริงใจ และช่วยประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนในการพัฒนางานวิชาการให้มีคุณภาพ
The objectives of the research were 1) to study the current and desired situations of the participatory administration of academic affairs based on the Four Principles of Sangahavatthu by the basic education commission of the Educational Opportunity Expansion Schools in Pathumrat District, Roi Et Province, 2) to study the needs of the participatory administration of academic affairs based on the Four Principles of Sangahavatthu by the basic education commission, and 3) to compile the recommendations related to the issue as mentioned. Target populations were the members of basic education commission, totally 90 in number. The tool for collecting the data was the questionnaire with reliability at 0.92 and 0.91, relating to the current and desirable situations, respectively. Statistics used in data analysis were percentage, mean (μ), standard deviation (σ), and modified priority needs index (PNImodified) The results of research were found that: 1. The current situation of the participatory administration of academic affairs based on the Four Principles of Sangahavatthu by the basic education commission of the Educational Opportunity Expansion Schools in Pathumrat District, Roi Et Province, as a whole was found to be at a moderate level. Taking into account the individual aspects, the item that was found to stand on top of the scale was the development of learning resources, followed by instructional supervision, curriculum development, and measurement and evaluation, respectively. And the desired situation, was in an overall aspect, found to prevail at the highest level. Taking into account the individual aspects, the item that was found to stand on top of the scale was the development of learning resources, followed by the instructional supervision, the curriculum development, and the measurement and evaluation, respectively. 2. The analysis of the needs of the participatory administration of academic affairs based on the Four Principles of Sangahavatthu by the said commission was, in an overall dimension, found that the most desirable aspect was the measurement and evaluation, followed by curriculum development, instructional supervision, and development of learning resources, respectively. 3. The recommendations suggested by the respondents comprised the following: 1) The curriculum development area requires participation in designing curriculum to keep in pace of the changing situation by means of jointly mobilizing ideas on the basis of equity in order that the curriculum can properly serve the local needs. 2) For the developing of learning resources, there should be participation in terms of enhancing the quality of learning resources, fund raising, utilizing local intelligence, monitoring, measurement and evaluation. 3) The measurement and evaluation area requires the participation in such fields as honoring and rewarding students with good academic records, communicating with parents/guardians in an attempt to help backward students, and designing measurement and evaluation instruments that are suitable to local conditions. 4) The instructional supervision area should accommodate appreciating and publicizing the qualified works of teachers and students, hearing the opinions of all parties concerned and being neutral in instructional supervision, proposing suggestions with sincerity and cooperating with all sectors to develop quality of academic affairs.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักคุณธรรมสังคหวัตถุ 4 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2, 2) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักคุณธรรมสังคหวัตถุ 4, 3) เพื่อเสนอแนวทางการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักคุณธรรมสังคหวัตถุ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูผู้สอนในโรงเรียน จำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .90 และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนี PNI ผลการวิจัยพบว่า : 1. สภาพปัจจุบัน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน รองลงมา คือ ด้านหลักสูตรและนำหลักสูตรไปใช้ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา สภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านหลักสูตรและนำหลักสูตรไปใช้ รองลงมา คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา 2. ความต้องการจำเป็น เรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นดังนี้ 1) ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 2) ด้านหลักสูตรและนำหลักสูตรไปใช้ 3) ด้านการจัดการเรียนการสอน 4) ด้านการวัดผลประเมินผลการเรียน 5) ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา 3. แนวทางการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักคุณธรรมสังคหวัตถุ 4 จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา สรุปได้ดังนี้ การวางแผนบริหารจัดการหลักสูตร สร้างเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ประชุมจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมตามสาระและหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน วัดประเมินผล วางแผนการนิเทศ และรับการนิเทศภายในสถานศึกษา
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักคุณธรรมสังคหวัตถุ 4 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2, 2) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักคุณธรรมสังคหวัตถุ 4, 3) เพื่อเสนอแนวทางการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักคุณธรรมสังคหวัตถุ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูผู้สอนในโรงเรียน จำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงของเนื้อหา เท่ากับ 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .90 และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนี PNI ผลการวิจัยพบว่า : 1. สภาพปัจจุบัน โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน รองลงมา คือ ด้านหลักสูตรและนำหลักสูตรไปใช้ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา สภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านหลักสูตรและนำหลักสูตรไปใช้ รองลงมา คือ ด้านการจัดการเรียนการสอน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา 2. ความต้องการจำเป็น เรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นดังนี้ 1) ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา 2) ด้านหลักสูตรและนำหลักสูตรไปใช้ 3) ด้านการจัดการเรียนการสอน 4) ด้านการวัดผลประเมินผลการเรียน 5) ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา 3. แนวทางการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมตามหลักคุณธรรมสังคหวัตถุ 4 จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา สรุปได้ดังนี้ การวางแผนบริหารจัดการหลักสูตร สร้างเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ประชุมจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมตามสาระและหน่วยการเรียนรู้แบบบูรณาการ จัดทำปฏิทินการปฏิบัติงาน วัดประเมินผล วางแผนการนิเทศ และรับการนิเทศภายในสถานศึกษา
The objectives of this thesis were: 1) to study the current condition and the favorable condition of Participatory administration of academic affairs based on the Sangahavatdhu in the schools under the Roi Et Primary Educational Service Area Office 2 2) to study the necessary needs of Participatory administration of academic affairs based on the Sangahavatdhu 3) to suggest guidelines for Participatory administration of academic affairs based on the Sangahavatdhu. The sample group used in this research was 345 teachers of the schools under the Roi Et Primary Educational Service Area Office. The instrument used was a 5- level estimation scale questionnaire with content accuracy of 0.67 - 1.00, confidence of 0.90, and a semi-structured review. The statistics used in the data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and PNI index. The result of the research found that 1. The current condition Overall was at a very high level. Teaching management was the highest average, followed by curriculum and curriculum implementation, and the lowest was Educational Quality assurance. Desirable condition Overall was at a high level was curriculum and curriculum implement, followed by teaching management. The aspect with the lowest average was supervision within educational institutions. 2. The necessary needs, ordering of importance of necessity was as follows: 1) Education quality assurance 2) Curriculum and curriculum implementation 3) Teaching management 4) Educational elevation and elevation 5) Supervision within academy. 3. Guidelines for participatory administration of academic affairs based on the Sangahavatdhu from educational institution administrators' interviewing Could be summarized as follows: course management planning, create criteria for assessing the success of educational institutions according to educational standards, arrange a meeting to create a participatory learning management plan according to the subject matter and an integrated learning unit, preparing a calendar of performance measurement and evaluation, planning supervision and receiving supervision within educational institutions.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561