Search results

37 results in 0.16s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขประสิทธิภาพการบริหาร งานกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview Research) จากพระสังฆาธิการผู้มีส่วนในการบริหารคณะสงฆ์การสุ่มตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) จำนวน 18 รูป จากทั้งหมดในเขตการปกครองคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ ซึ่งผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลโดย การแปลผลจากแบบสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบบันทึกการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผลการศึกษาพบว่า 1.
วิทยานิพนธ์เรื่องประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขประสิทธิภาพการบริหาร งานกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview Research) จากพระสังฆาธิการผู้มีส่วนในการบริหารคณะสงฆ์การสุ่มตัวอย่าง แบบเฉพาะเจาะจง (purposive sampling) จำนวน 18 รูป จากทั้งหมดในเขตการปกครองคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ ซึ่งผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลโดย การแปลผลจากแบบสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบบันทึกการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ผลการศึกษาพบว่า 1.
จากการศึกษาประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราชตามภารกิจการบริหารคณะสงฆ์ 6 ด้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน ดังนี้ 1) ด้านการปกครอง การปกครองของคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช มีการวางแผนงานในการงานรวมถึงมีการกำหนดนโยบายในการทำงาน และมีการบริหารเป็นไปตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กฎมหาเถรสมาคม ระเบียบมติมหาเถรสมาคมกำหนดไว้ 2) ด้านการศาสนศึกษา การศาสนศึกษาเป็น เรื่องสำคัญอย่างยิ่งในปัจจุบัน หลายวัดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ดีมีการจัดตั้งสถานที่เรียนและส่งเสริมการเรียนการสอนต่อพระภิกษุและสามเณรที่สนใจในการเรียนทั้งด้านบาลีและนักธรรม 3) ด้านการเผยแผ่ จากการศึกษาพบว่า พระสังฆาธิการเอาใจใส่ด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา โดยการเทศนาสั่งสอนประชาชนโดยทั่วไปเพื่อให้ตั้งมั่นอยู่ในหลักคำสอนในทางพุทธศาสนา เพราะพระสังฆาธิการมีหน้าที่สำคัญในการนำเอาหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาไปเผยแผ่แก่ประชาชน 4) ด้านการศึกษาสงเคราะห์ จากการศึกษาพบว่า การส่งเสริมให้มีการศึกษาเป็นการสงเคราะห์ประชาชน ด้านการ ศึกษาให้มีความรู้ความสามารถที่จะดำรงตนและดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุขการจัดการศึกษาเพื่อช่วยเหลือเกื้อกูลและการช่วยเหลือเกื้อกูลการศึกษาให้ผู้ที่มีความสนใจได้เข้ามาศึกษาและสามารถใช้ในชีวิต ประจำวันได้ 5) ด้านสาธารณสงเคราะห์บทบาทของความเป็นพระสังฆาธิการในการ ช่วยเหลือสังคมทั้งความคิด และกำลังทรัพย์ในด้านต่าง ๆ 6) ด้านการสาธารณูปการ จากการศึกษาพบว่า ส่วนใหญ่มีการจัดกิจกรรมที่สร้างสรรค์ระหว่างวัดและชุมชน เช่น อบรม บรรยายธรรมให้แก่คนในชุมชน ทางคณะสงฆ์แต่ละวัดมีความสามัคคีกันช่วยกันสอดส่องดูแล อาคารเสนาสนะต่าง ๆ ให้อยู่ในสภาพที่เรียบร้อยดูดีเป็นที่น่ามอง 2.ผลการศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาและแนวทางแก้ไขประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช 1) ปัญหาประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 6 ด้าน พบว่า การทำงานของคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราชนั้นมีปัญหาที่เป็นปัญหาหลักของการทำงาน คือ คณะสงฆ์ธรรมยุตแม้จะมีการกำหนด นโยบายและการวางแผนงานในการทำงานแล้วก็ตามแต่เป็นการกำหนดนโยบายแบบรูปธรรมมากว่าการปฏิบัติงาน และการใช้งานบุคคลากรก็ไม่ตรงตามกับงานที่ได้รับมอบหมาย ขาดบุคลากรในการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ รวมทั้งพระสังฆาธิการผู้ปกครองบางท่านไม่มีความรู้ในด้านการบริหารงานคณะสงฆ์อย่างชัดเจนจริง 2) แนวทางแก้ไขประสิทธิภาพการบริหารกิจการคณะสงฆ์ธรรมยุต จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 6 ด้าน พบว่า คณะสงฆ์ธรรมยุตควรมีการวางแผนงานในการทำงานอย่างชัดเจน มีการคัดสรรบุคลากรให้เหมาะสมเกี่ยวกับงาน รวมทั้งควรมีการแก้ไขปัญหาซึ่งกันและกัน และควรมีการแต่งตั้งกรรมการในการทำงานด้านต่าง ๆ ของคณะสงฆ์
The objectives of this thesis were as follows : 1) To study Effectiveness of Dhammayuttika Nikaya Sangha’s Affairs administration in Nakhon Si Thammarat province. 2) To study the problem and resolution on effectiveness of Dhammayuttika Nikaya Sangha’s Affairs administration in Nakhon Si Thammarat province. This is the qualitative research by in-depth interview from eighteen informants with purposive sampling, The instrument for data collection was interview form and data analysis by descriptive content analysis from the respondents. The results reveal that 1) The Effectiveness of Dhammayuttika Nikaya Sangha’s Affairs administration in Nakhon Si Thammarat province by overviews in six aspects are at very high level, as follows; 1) the aspect of ruling reveals that they have plan and policy for working according to Sangha supreme council. 2) the aspect of religious study reveals that it is so important because of base on learning especially Dhamma and Pali for novice and monk in temple. 3) the aspect of dissemination reveals that they teach people with Buddha’s teaching for spread of Dhamma and stable of Buddhism. 4) education welfare reveals that they need for education welfare for living a better life and happy in society. 5) the aspect of public welfare reveals that they help people by teaching and some materials in society. 6) the aspect of public assistant reveals that there are more of activities between temple and community they help each others i.e. training teaching and others equipments facilities for good looking. 2) The the problem and resolution on effectiveness of Dhammayuttika Nikaya Sangha’s Affairs administration in Nakhon Si Thammarat province. The problem by including for six aspects reveal that the main problem is the abstract of planning and policy, not for good performance, not put the right man on the right job and lack of personel, some of ecclesiastics are not good for administration as well. The resolution by including for six aspects reveal that there should have a plan for working as clear and clear and put the right man on the right job, and there should have a committee for working in each aspects.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยแบบผสม (Mixed Methods Research) ทั้งเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ ในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ ในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด ของพระสงฆ์ที่มี อายุ พรรษา และวุฒิการศึกษาต่างกัน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ ในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ พระสงฆ์มีรายชื่อในทะเบียนวัด อำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 159 รูป กำหนดขนาดตัวอย่างโดยวิธี เทียบตารางของเครจซีและมอร์แกน (R.V. Krejcie and D.W. Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหา ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA :F- test) และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบการวิเคราะห์ การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth interview) สัมภาษณ์ผู้รู้หรือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informant Interview) โดยเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง (Purposive Selection) ได้แก่ พระสังฆาธิการในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ในอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 7 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-structured or guided interviews) กล้องถ่ายรูป และเทปบันทึกเสียง ผลการวิจัยพบว่า พบว่า 1) ความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ ในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อย โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทั้งสามด้าน ลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านสาธารณูปการ ด้านการปกครองคณะสงฆ์ และด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา 2) ) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า พระสงฆ์ที่มีอายุ พรรษา ระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อต่อบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด เรียงลำดับความถี่จากมากไปหาน้อยสามอันดับแรก มีดังนี้ ควรมีการจัดประชุมพระภิกษุสามเณรเพื่ออบรมสั่งสอนด้านข้อวัตรปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัยเป็นประจำ ควรจัดให้มีการบรรยายธรรมทางหอกระจายข่าวของหมู่บ่ายทุกวันพระ และควรเป็นสถานที่ให้ความช่วยเหลือบรรเทาทุกข์เมื่อมีผู้ประสบภัย
วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยแบบผสม (Mixed Methods Research) ทั้งเชิงปริมาณ (Quantitative Research) และเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ ในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ ในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด ของพระสงฆ์ที่มี อายุ พรรษา และวุฒิการศึกษาต่างกัน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะในการพัฒนาบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ ในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ พระสงฆ์มีรายชื่อในทะเบียนวัด อำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 159 รูป กำหนดขนาดตัวอย่างโดยวิธี เทียบตารางของเครจซีและมอร์แกน (R.V. Krejcie and D.W. Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหา ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA :F- test) และใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบการวิเคราะห์ การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth interview) สัมภาษณ์ผู้รู้หรือผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informant Interview) โดยเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง (Purposive Selection) ได้แก่ พระสังฆาธิการในการบริหารกิจการคณะสงฆ์ในอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 7 รูป เครื่องมือที่ใช้ในการสัมภาษณ์ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง (Semi-structured or guided interviews) กล้องถ่ายรูป และเทปบันทึกเสียง ผลการวิจัยพบว่า พบว่า 1) ความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการ ในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อย โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทั้งสามด้าน ลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านสาธารณูปการ ด้านการปกครองคณะสงฆ์ และด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา 2) ) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า พระสงฆ์ที่มีอายุ พรรษา ระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อต่อบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะในการพัฒนาบทบาทการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของพระสังฆาธิการในเขตอำเภอจังหาร จังหวัดร้อยเอ็ด เรียงลำดับความถี่จากมากไปหาน้อยสามอันดับแรก มีดังนี้ ควรมีการจัดประชุมพระภิกษุสามเณรเพื่ออบรมสั่งสอนด้านข้อวัตรปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัยเป็นประจำ ควรจัดให้มีการบรรยายธรรมทางหอกระจายข่าวของหมู่บ่ายทุกวันพระ และควรเป็นสถานที่ให้ความช่วยเหลือบรรเทาทุกข์เมื่อมีผู้ประสบภัย
This thesis Comprehensive Mixed Methods Research (Quantitative Research) and qualitative research (1) to study the opinions of the monks on the role of the monastic administration in district 2) to compare the opinions on the role of the monk's administration. in district Roi ed 3) to study the suggestions for the development of the role of monks in the administration of monks. In district Roi ed Research samples include: The monks were listed in the register of Wat Chang District, Roi Et Province. RV Krejcie and DW Morgan. The tool used in this study was a five-level rating scale questionnaire. The reliability of the questionnaire was 94 items. Used in data analysis including mean, percentage, and standard deviation. One-way ANOVA (F-test) and computer-analytical software. Qualitative Research is an in-depth interview, interview, or key informant interview, with a Purposive Selection. Monk in chang han district The instruments used in the interview were semi-structured interview. Semi-structured or guided interviews, cameras and tape recorders. The results of the research indicated the following findings: 1) the opinions of the monks on the role of monks in chang han district, Hundreds were at a high level. When considering each aspect. Is on a very high level on all three sides. The order of the average is from the least to the least. Monastic administration 2) The results of the hypothesis test showed that the monks with different education levels were different. Opinions on the role of the monk's administration in the district. Roi ed 3) Suggestions for the development of the monk's role in the administration of the monks in the district. Roi ed Sort the frequencies from the top three to the least. There should be a meeting of monks and novices to teach the practice of the discipline on a regular basis. There should be a lecture on the morning news broadcasts. And should be a place to provide relief when victims.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมา ภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารกิจ การคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษาต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม การวิจัยครั้งนี้ มีประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพระภิกษุในเขตอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จำนวน 236 รูป เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปร ปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) พระภิกษุกลุ่มตัวอย่าง มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยมีดังนี้ ด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศาสนศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล และด้านการสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาล ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า พระภิกษุที่มี พรรษา และวุฒิการศึกษาทางธรรมต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพระภิกษุที่มีระดับ อายุ และวุฒิการศึกษาทางโลก ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เห็นว่า งานด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาลเป็นงานที่ต้องใช้การควบคุม สอดส่องดูแล พระภิกษุ สามเณร รวมถึงศิษย์วัดให้ปฏิบัติตามกรอบพระธรรมวินัย กฏระเบียบมหาเถรสมาคม ส่วนด้านการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ภาพรวมส่วนใหญ่พระสังฆาธิการมีการส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรม บาลี แผนกสามัญตามระเบียบของมหาเถรสมาคม ส่วนด้านศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในภาพรวมอยู่ในระดับดี โดยเฉพาะการให้การสงเคราะห์ด้านการฝึกอบรมแก่พระภิกษุ สามเณร และการสงเคราะห์เยาวชนให้ได้รับการศึกษาเล่าเรียนในลักษณะของการแจกทุนการศึกษาด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล เป็นการทำงานของคณะสงฆ์โดยรวม ที่เป็นไปเพื่อการเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนทั้งในวัด นอกวัด ชื่อว่า เป็นภารกิจด้านการเผยแผ่ทั้งสิ้น ส่วนด้านสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการทำงานลักษณะการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทั้งการพัฒนาวัดในด้านวัตถุทุกอย่าง และการบำรุงดูแลรักษาถาวรวัตถุ หรือสาธารณสมบัติของวัด และด้านสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล กิจการคณะสงฆ์ด้านนี้ เป็นภารกิจที่วัด หรือพระภิกษุ ดำเนินการช่วยเหลือสังคม
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมา ภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารกิจ การคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ที่มี อายุ พรรษา วุฒิการศึกษาต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม การวิจัยครั้งนี้ มีประชากรกลุ่มตัวอย่างที่เป็นพระภิกษุในเขตอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จำนวน 236 รูป เครื่องมือที่ใช้วิจัย คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบความแปร ปรวนแบบทางเดียว (F-test or One-way ANOVA) หากพบความแตกต่างทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (Least Significant Difference) ผลการวิจัยพบว่า 1) พระภิกษุกลุ่มตัวอย่าง มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยมีดังนี้ ด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศาสนศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาล ด้านการศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล และด้านการสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาล ตามลำดับ 2) การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า พระภิกษุที่มี พรรษา และวุฒิการศึกษาทางธรรมต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนพระภิกษุที่มีระดับ อายุ และวุฒิการศึกษาทางโลก ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม โดยรวมไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะแนวทางเกี่ยวกับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในเขตอําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เห็นว่า งานด้านการปกครองตามหลักธรรมาภิบาลเป็นงานที่ต้องใช้การควบคุม สอดส่องดูแล พระภิกษุ สามเณร รวมถึงศิษย์วัดให้ปฏิบัติตามกรอบพระธรรมวินัย กฏระเบียบมหาเถรสมาคม ส่วนด้านการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ภาพรวมส่วนใหญ่พระสังฆาธิการมีการส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมทั้งแผนกธรรม บาลี แผนกสามัญตามระเบียบของมหาเถรสมาคม ส่วนด้านศึกษาสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาลของพระสังฆาธิการในภาพรวมอยู่ในระดับดี โดยเฉพาะการให้การสงเคราะห์ด้านการฝึกอบรมแก่พระภิกษุ สามเณร และการสงเคราะห์เยาวชนให้ได้รับการศึกษาเล่าเรียนในลักษณะของการแจกทุนการศึกษาด้านการเผยแผ่ตามหลักธรรมาภิบาล เป็นการทำงานของคณะสงฆ์โดยรวม ที่เป็นไปเพื่อการเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนทั้งในวัด นอกวัด ชื่อว่า เป็นภารกิจด้านการเผยแผ่ทั้งสิ้น ส่วนด้านสาธารณูปการตามหลักธรรมาภิบาลเป็นการทำงานลักษณะการบำเพ็ญสาธารณประโยชน์ ทั้งการพัฒนาวัดในด้านวัตถุทุกอย่าง และการบำรุงดูแลรักษาถาวรวัตถุ หรือสาธารณสมบัติของวัด และด้านสาธารณสงเคราะห์ตามหลักธรรมาภิบาล กิจการคณะสงฆ์ด้านนี้ เป็นภารกิจที่วัด หรือพระภิกษุ ดำเนินการช่วยเหลือสังคม
และผู้ประสบภัยพิบัติในลักษณะต่าง ๆ ดังนั้นกิจการคณะสงฆ์ทุกด้านต้องใช้คุณธรรมนำการบริหารให้คำปรึกษากับคณะสงฆ์เมื่อเกิดปัญหา จัดประชุมเปิดโอกาสให้พระสังฆาธิการมีส่วนร่วม แต่การทำงานก็ต้องนำหลักของกฎหมาย หลักความโปร่งใส คุ้มค่าตรวจสอบได้
The objectives of the thesis are: 1) to study Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province, 2) to compare Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province based on their different ages, years in monkhood, and educational backgrounds, and 3) to study guidelines of Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province. The data were collected from 236 monks in Nakhon Chaisi district through questionnaires and analyzed by frequency, percentile, mean, standard deviation, t-test, F-test or One-way ANOVA and Least Significant Difference test. (LSD.) The results of research were found that: 1) The opinion of monks on Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province was at a high level overall. The highest level was on Buddhist propagation according to Good Governance, followed by Public Welfare according to Good Governance, Religious study according to Good Governance, Government according to Good Governance, Educational welfare according to Good Governance, and Public Assistance according to Good Governance respectively. 2) The monks with different years in monkhood and Dhamma educational levels had different opinion levels towards Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province with a statistically significant figure at 0.05, but those with different ages and general education levels showed no different opinion level on Sangha’s affairs administration in accordance with good governance of administrative monks in Nakhon Chaisi district of Nakhon Pathom province. 3) Recommendations and suggestions: On the government according to Good Governance, the duty is to administrate, monitor, and take care of monks and novices under the Dhammavinaya and regulations of the Sangha Council. On the education according to Good Governance, the administrative monks support and promote the study of Dhamma, Palia and general education. On Education Welfare according to Good Governance, the administrative monks provide trainings and funds in study for monks, novices and children. On Propagation according to Good Governance, the temple internal and external teachings and trainings of administrative monks are all included in religious propagation. On Public Assistance according to Good Governance, the work and duty cover the development, renovation, restoration and preservation of the temple buildings, properties and objects. And on Public Welfare according to Good Governance, it is the burden of monks and temples to provide assistances to society and victims of disaster. The Sangha’s affairs should be administrated based on virtue, cooperation, laws and regulations that can lead to transparency, worthiness, and accountability.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559