Search results

48 results in 0.12s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 การสำรวจองค์ความรู้สันติศึกษาและการฝึกอบรมสันติวิธีในสังคมไทย
  • บทที่ 2 การบังคับบุคคลสูญหายและนัยยะของความคลุมเครือ
  • บทที่ 3 สันติอาสาสักขีพยาน : ปฏิบัติการธรรมดาสามัญเพื่อยับยั้งความรุนแรงโดยฝ่ายที่สาม
  • บทที่ 4 ปฏิบัติการไร้ความรุนแรงบนเส้นทางวิชาชีพ : กรณีศึกษาบุคลากรทางการแพทย์ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
  • บทที่ 5 "เขาสันติวิธีมา เราก็สันติวิธีกลับ" : การเมืองของปฏิสัมพันะสันติวิธีระหว่างผู้ชุมนุมกับเจ้าหน้าที่รัฐ ศึกษากรณีการประท้วง ณ มัสยิดกลางจังหวัดปัตตานี วันที่ 31 พฤษภาคม ถึง 4 มิถุนายน 2550
  • บทที่ 6 สันติวิธีในมิติงานความมั่นคงไทย
  • บทที่ 7 รัฐไทยกับการใช้สันติวิธีแก้ไขปัญหาการก่อการร้ายจับตัวประกันในอดีต : กรณีศึกษาการบุกยึดสถานฑูตอิสราเอลประจำประเทศไทย ปี 2515 และการบุกยึดสถานฑูตสหภาพพม่าประจำประเทศไทย ปี 2542
  • บทที่ 8 เมื่อใดที่ การแสดง ความเกลียดชัง กลายเป็น การใช้ ความรุนแรง
  • บทที่ 9 สังคมไทยกับการสร้างความปรองดองภายหลังเหตุการณ์สลายการชุมนุมในปี 2553
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำทางปัญญาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางสังคมในพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ภาวะผู้นำทางปัญญาในการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางสังคมของมโหสถบัณฑิตในมโหสถชาดก เป็นงานวิจัยเชิงเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลจากพระไตรปิฎกเกี่ยวกับภาวะผู้นำในพุทธปรัชญาเถรวาท ความขัดแย้งในพุทธปรัชญาเถรวาท และมโหสถบัณฑิตในมโหสถชาดก ผลการวิจัยพบว่า : 1. ภาวะผู้นำทางปัญญาในพุทธปรัชญาเถรวาท โดยใช้หลักปัญญา 3 ประการ ประกอบด้วย 1) สุตมยปัญญา ปัญญาได้จากฟังข้อมูลเพื่อประกอบพิจารณา 2) จินตามยปัญญา ปัญญาได้จากการคิดวิเคราะห์ตรึกตรองความเป็นเหตุเป็นผล 3) ภาวนามยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการพิจารณาเจริญสติ 2. การแก้ปัญหาความขัดแย้งทางสังคมในพุทธปรัชญาเถรวาท ปัญหาความขัดแย้งทางสังคมทางพระพุทธศาสนานั้นมีมูลเหตุมาจาก ปปัญจธรรม ธรรมเป็นเครื่องเนิ่นช้า มีตัณหา ทิฏฐิ มานะ เป็นสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดความขัดแย้ง ส่วนการขัดแย้งในสังคมมี 5 ประการ 1) ความขัดแย้งด้านข้อมูล 2) ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์และความต้องการ 3) ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์ 4) ความขัดแย้งด้านโครงสร้าง 5) ความขัดแย้งด้านคุณค่าหรือค่า 3. ภาวะผู้นำทางปัญญาในการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางสังคมของมโหสถบัณฑิตในมโหสถชาดก มโหสถบัณฑิตได้ใช้หลักหลักปัญญา 3 ประการ เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งทางสังคม ในการรับฟังในข้อมูลคดีที่ถูกต้อง การคิดวิเคราะห์ในสิ่งที่สมเหตุสมผล และการพิจารณาตามหลักความเป็นจริง
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำทางปัญญาในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางสังคมในพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ภาวะผู้นำทางปัญญาในการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางสังคมของมโหสถบัณฑิตในมโหสถชาดก เป็นงานวิจัยเชิงเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลจากพระไตรปิฎกเกี่ยวกับภาวะผู้นำในพุทธปรัชญาเถรวาท ความขัดแย้งในพุทธปรัชญาเถรวาท และมโหสถบัณฑิตในมโหสถชาดก ผลการวิจัยพบว่า : 1. ภาวะผู้นำทางปัญญาในพุทธปรัชญาเถรวาท โดยใช้หลักปัญญา 3 ประการ ประกอบด้วย 1) สุตมยปัญญา ปัญญาได้จากฟังข้อมูลเพื่อประกอบพิจารณา 2) จินตามยปัญญา ปัญญาได้จากการคิดวิเคราะห์ตรึกตรองความเป็นเหตุเป็นผล 3) ภาวนามยปัญญา ปัญญาที่ได้จากการพิจารณาเจริญสติ 2. การแก้ปัญหาความขัดแย้งทางสังคมในพุทธปรัชญาเถรวาท ปัญหาความขัดแย้งทางสังคมทางพระพุทธศาสนานั้นมีมูลเหตุมาจาก ปปัญจธรรม ธรรมเป็นเครื่องเนิ่นช้า มีตัณหา ทิฏฐิ มานะ เป็นสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดความขัดแย้ง ส่วนการขัดแย้งในสังคมมี 5 ประการ 1) ความขัดแย้งด้านข้อมูล 2) ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์และความต้องการ 3) ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์ 4) ความขัดแย้งด้านโครงสร้าง 5) ความขัดแย้งด้านคุณค่าหรือค่า 3. ภาวะผู้นำทางปัญญาในการแก้ปัญหาความขัดแย้งทางสังคมของมโหสถบัณฑิตในมโหสถชาดก มโหสถบัณฑิตได้ใช้หลักหลักปัญญา 3 ประการ เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งทางสังคม ในการรับฟังในข้อมูลคดีที่ถูกต้อง การคิดวิเคราะห์ในสิ่งที่สมเหตุสมผล และการพิจารณาตามหลักความเป็นจริง
The objectives of this thesis were as follows; 1) to study intellectual leadership in Theravada Buddhist philosophy, 2) to study resolution of social conflicts in Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze intellectual leadership of Mahosatha in Mahosatha Jataka. It was a document research by collecting information from the Tipitaka on leadership in Theravada Buddhist philosophy, solution of conflicts in Theravada Buddhist philosophy and Mahosatha in Mahosatha Jataka. The results of research were found that: 1. Intellectual Leadership in Theravada Buddhist Philosophy by using 3 principles of Panya: 1) Sutamaya-panya, wisdom acquired from listening to information for consideration 2) Jintamaya-panya, wisdom derived from analytical thinking and contemplation, and 3) Bhavanamaya-panya, wisdom derived from mindful consideration. 2. As regards the solution of social conflicts in Theravada Buddhist philosophy, problem of social conflicts in Buddhism resulted from Papancadhamma, the Dharma of mental proliferation, namely, craving, dogma and conceit which provoked conflicts. As for conflicts in society, there were 5 aspects: 1) information conflicts 2) conflicts of interests and needs 3) relationship conflicts 4) structural conflicts 5) values or worth conflicts. 3. As regards the Intellectual Leadership in solving social conflicts of Mahosatha in Mahosatha Jataka, Mahosatha had applied 3 principles of wisdom to solve social conflicts through listening to the correct case information, rational analysis and actual consideration.
หนังสือ

    มีทั้งภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในเล่ม
มีทั้งภาคภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในเล่ม