Search results

75 results in 0.18s

หนังสือ

    วิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
Note: วิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยญาณสังวร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการเผยแผ่พระ พุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) คือ บรรพชิต 10 รูป ฆราวาส 10 คน (รวม 20 รูป/คน) นำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์เนื้อหาตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า : การเผยแผ่พระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เริ่มแรกพระพุทธองค์ทรงเผยแผ่หลักธรรมคำสอนด้วยพระองค์เอง ต่อจากนั้น การเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยพระสาวกดำเนินเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน โดยมีหลักคำสอนที่สำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา คือ หลักโอวาทปาติโมกข์ หลักประโยชน์ 3 หลักไตรสิกขา ปฏิจจสมุปบาท เพื่อให้มนุษย์และสัตว์ทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ด้วยความไม่เบียดเบียนกันทั้งตนเองและผู้อื่น โดยพระพุทธองค์ทรงคำนึงถึงประโยชน์ที่พุทธศาสนิกชนจะได้รับเป็นหลักสำคัญที่สุดในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พุทธวิธีที่พระองค์ทรงสอนนั้นทรงเลือกใช้พุทธวิธีการสอนให้เหมาะสมกับบุคคลสถานที่กาลและกุศโลบายวิธี เพื่อให้ผู้ที่พระองค์ทรงสอนเกิดสติปัญญาแก้ไขปัญหา สามารถนำพาชีวิตประสบความสงบสุขหลุดพ้นจากความทุกข์ดำเนินสู่มรรคผล คือ พระนิพพาน หลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ มีวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ชัดเจนที่สุด คือ การแสดงธรรมเทศนา เพื่ออธิบายเรื่องการนั่งสมาธิภาวนา เรื่องอิทธิปาฏิหาริย์มีกุศโลบายในการสอนโดยสอดแทรกธรรมะผ่านวัตถุมงคลเรื่องคาถาต่างๆ เป้าหมายของการอบรมภาวนา คือ สอนวิธีทำใจให้สงบ ท่านไม่ได้สอนอะไรมากมายเพียงแต่สอนคนให้ภาวนาได้เท่านั้น ศาสนาพุทธเป็นศาสนาของใจการภาวนา คือ การพัฒนาจิตใจต้องให้ใจสงบก่อนจึงจะก้าวสู่วิปัสสนาได้สมถะเป็นเหตุวิปัสสนาเป็นผล ท่านสอนให้เดินจิตให้ชำนาญให้คล่องตัวเกิดความชำนิชำนาญในการเข้าการออก เพื่อเป็นฐานของวิปัสสนาการพิจารณาค้นหาใจตนเองให้พบก่อนเป็นการค้นไปในจิตหากิเลส อาสวะที่หมักดองอยู่ และชำระสะสางออกไปจากจิตใจ ในท้ายที่สุดแล้ว ท่านจะบรรยายอธิบายเรื่องทั้งหมดผ่านการแสดงธรรมตามวิธีสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผลจากการวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ของพรโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ ไตรสิกขา อันหมายถึง การฝึกพฤติกรรมฝึกจิตใจและฝึกปัญญาผ่านรูปแบบการเจริญภาวนาด้วยทาน ศีล ภาวนา จนเกิดปัญญาโดยมีแนวทางที่เป็นสายกลาง คือ อริยมรรค มีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ท่านได้แสดงให้เห็นว่า ท่านเป็นแบบอย่างที่ดียิ่งที่สร้างศรัทธาให้พุทธบริษัท และพุทธศาสนิกชนให้มั่นคงในพระพุทธศาสนาด้วยรูปแบบการเผยแผ่ดังกล่าวและกุศโลบายต่างๆ นั้นเพื่อให้ได้เข้าถึงความดีงามตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา ทั้งที่แสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ด้วยตาคือ ผลงานด้านถาวรวัตถุ ทั้งที่แสดงให้เห็นด้วยใจ คือ แรงพลังศรัทธาที่พุทธศาสนิกชนเข้าได้เข้ารับการอบรมสมาธิภาวนา มีทั้งแสดงให้เห็นด้วยปัญญา คือ หลักธรรมคำสอนที่มีจุดมุ่งหมายสูงสุดอันจะก่อเกิดความเป็นอิสระจากทุกข์ทั้งปวง กล่าวคือมรรคผลนิพพาน
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการเผยแผ่พระ พุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) คือ บรรพชิต 10 รูป ฆราวาส 10 คน (รวม 20 รูป/คน) นำข้อมูลที่ได้มาเรียบเรียง จัดหมวดหมู่ วิเคราะห์เนื้อหาตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่า : การเผยแผ่พระสัทธรรมของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เริ่มแรกพระพุทธองค์ทรงเผยแผ่หลักธรรมคำสอนด้วยพระองค์เอง ต่อจากนั้น การเผยแผ่พระพุทธศาสนาโดยพระสาวกดำเนินเรื่อยมาจวบจนปัจจุบัน โดยมีหลักคำสอนที่สำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา คือ หลักโอวาทปาติโมกข์ หลักประโยชน์ 3 หลักไตรสิกขา ปฏิจจสมุปบาท เพื่อให้มนุษย์และสัตว์ทั้งหลายดำรงชีวิตอยู่ด้วยความไม่เบียดเบียนกันทั้งตนเองและผู้อื่น โดยพระพุทธองค์ทรงคำนึงถึงประโยชน์ที่พุทธศาสนิกชนจะได้รับเป็นหลักสำคัญที่สุดในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา พุทธวิธีที่พระองค์ทรงสอนนั้นทรงเลือกใช้พุทธวิธีการสอนให้เหมาะสมกับบุคคลสถานที่กาลและกุศโลบายวิธี เพื่อให้ผู้ที่พระองค์ทรงสอนเกิดสติปัญญาแก้ไขปัญหา สามารถนำพาชีวิตประสบความสงบสุขหลุดพ้นจากความทุกข์ดำเนินสู่มรรคผล คือ พระนิพพาน หลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ มีวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ชัดเจนที่สุด คือ การแสดงธรรมเทศนา เพื่ออธิบายเรื่องการนั่งสมาธิภาวนา เรื่องอิทธิปาฏิหาริย์มีกุศโลบายในการสอนโดยสอดแทรกธรรมะผ่านวัตถุมงคลเรื่องคาถาต่างๆ เป้าหมายของการอบรมภาวนา คือ สอนวิธีทำใจให้สงบ ท่านไม่ได้สอนอะไรมากมายเพียงแต่สอนคนให้ภาวนาได้เท่านั้น ศาสนาพุทธเป็นศาสนาของใจการภาวนา คือ การพัฒนาจิตใจต้องให้ใจสงบก่อนจึงจะก้าวสู่วิปัสสนาได้สมถะเป็นเหตุวิปัสสนาเป็นผล ท่านสอนให้เดินจิตให้ชำนาญให้คล่องตัวเกิดความชำนิชำนาญในการเข้าการออก เพื่อเป็นฐานของวิปัสสนาการพิจารณาค้นหาใจตนเองให้พบก่อนเป็นการค้นไปในจิตหากิเลส อาสวะที่หมักดองอยู่ และชำระสะสางออกไปจากจิตใจ ในท้ายที่สุดแล้ว ท่านจะบรรยายอธิบายเรื่องทั้งหมดผ่านการแสดงธรรมตามวิธีสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผลจากการวิเคราะห์รูปแบบการเผยแผ่ของพรโสภณวิสุทธิคุณ (บุญเพ็ง กปฺปโก) คือ ไตรสิกขา อันหมายถึง การฝึกพฤติกรรมฝึกจิตใจและฝึกปัญญาผ่านรูปแบบการเจริญภาวนาด้วยทาน ศีล ภาวนา จนเกิดปัญญาโดยมีแนวทางที่เป็นสายกลาง คือ อริยมรรค มีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ท่านได้แสดงให้เห็นว่า ท่านเป็นแบบอย่างที่ดียิ่งที่สร้างศรัทธาให้พุทธบริษัท และพุทธศาสนิกชนให้มั่นคงในพระพุทธศาสนาด้วยรูปแบบการเผยแผ่ดังกล่าวและกุศโลบายต่างๆ นั้นเพื่อให้ได้เข้าถึงความดีงามตามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา ทั้งที่แสดงให้เห็นเป็นประจักษ์ด้วยตาคือ ผลงานด้านถาวรวัตถุ ทั้งที่แสดงให้เห็นด้วยใจ คือ แรงพลังศรัทธาที่พุทธศาสนิกชนเข้าได้เข้ารับการอบรมสมาธิภาวนา มีทั้งแสดงให้เห็นด้วยปัญญา คือ หลักธรรมคำสอนที่มีจุดมุ่งหมายสูงสุดอันจะก่อเกิดความเป็นอิสระจากทุกข์ทั้งปวง กล่าวคือมรรคผลนิพพาน
ตามหลักการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเพื่อสร้างประโยชน์ที่เกิดกับสังคมและหมู่คณะสงฆ์ในจังหวัดขอนแก่นอีกด้วย
This research had the objectives to study; 1) Theravada Buddhist propagation, 2) the propagation of Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako), and 3) to analyze the propagation principles of Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako). The researcher collected and studied from text books and related documents including in-depth interview from 10 Buddhist monks and 10 Buddhist laymen. The results were as follows: In the preliminary of Buddhist propagation, the Buddha went to teach and propagate by himself. When he had the disciples, he allowed them to teach and propagated Buddhism till now. The core of Buddhist propagation is Ovada Patimokkha, The Principle of Advantage, Threefold Training, and the Principle of Dependent Origination to cease from all evil, to do what is good, and to purify the mind. The Buddha and his disciples had proper methods to teach the people with the goal to leave from suffering and to reach enlightenment. For Phrasophonvisutdhikhun (Bunpheng Kappako), he applied the Buddha’ methods to teach the people with four principle; transparency, motivation, brave, and happiness. He described, discussed, and answered Buddhist principles. The principles that he used to teach were Dhana, Sila, Panya because there were the factors of Anapanasati. Also, it was the way to resolve the problems that brought the happiness and calm. For the analytical of Phrasophonvisutdhikhun’s propagation and teaching, he applied the Principles of Threefold Training, the Eightfold Path to teach the people to reach enlightenment. He acted as the model for the people to strongly believe in Buddhism by builds, Buddhist estates and meditation. He practiced following the Buddha’s teaching for the benefit of the people to relief suffering and reach enlightenment and for the benefit of the Sangha in Khonkaen province.
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม.)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2547
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม.)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2547
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(สศ.ม)--มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2547
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(สศ.ม)--มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2547
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง “กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ” มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษากระบวนทัศน์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ๒) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ๓) การสร้างกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ และ ๔) การนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบสัมภาษณ์ (Qualitative research interview) ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน ๑๒ รูป/คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา นำเสนอในรูปแบบเชิงพรรณนา ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ๑) กระบวนทัศน์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นการเผยแผ่ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนในรูปแบบต่าง ได้แก่ ๑. การเผยแผ่ด้วยการทำพระองค์เป็นแบบอย่าง ๒. การเผยแผ่ด้วยการให้ผู้ปฏิบัติสัมผัสกับสัจจะเกิดประสบการณ์ด้วยตนเอง ๓. การเผยแผ่ด้วยการแสดงธรรม ๔. การเผยแผ่ด้วยการให้ผู้ฝังคิดหาเหตุผลด้วยตนเอง และกิจกรรมเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์วัดและคณะสงฆ์ในปัจจุบันมีทั้งแบบ ประเพณี และปรับปรุงให้เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน ได้แก่ ๑. การเผยแผ่ตามประเพณีคณะสงฆ์และตามประเพณีไทย ๒. การเผยแผ่แบบปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบัน ๓. การเผยแผ่แบบจัดเป็นคณะ หรือหน่วยงานเผยแผ่ ๔. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้านคฤหัสถ์ มีการตั้งเป็นสมาคม ๒) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ในด้านการเทศน์ การปาฐกถา การเขียนหนังสือ การแปลหนังสือ บทกวีนิพนธ์ร้อยกรอง และในด้านปริศนาธรรมโรงมหรสพทางวิญญาณ ทั้ง ๔ ด้านนี้ ซึ่งในแต่ละด้านของกระบวนทัศน์นั้นมี ๓ วิธีการ แต่ละวิธีการมีประเด็นที่ศึกษา คือ (๑) วิธีคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วยการศึกษาปัญหา สาเหตุ เป้าหมาย และศึกษาวิธีการ (๒) วิธีปฏิบัติ ประกอบด้วย กระบวนวิธีการเรียนให้รู้ ทำให้ดู อยู่ให้เห็น และปฏิบัติให้เป็นตัวอย่าง (๓) วิธีนำเสนอ ประกอบด้วย ชี้แจงให้เห็นชัด ชวนใจให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ เร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจให้สดชื่นร่าเริง ๓) สร้างกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ประกอบด้วย (๑)กระบวนวิธีการคิดวิเคราะห์ โดยใช้หลักอริยสัจ ในการศึกษาปัญหา สาเหตุ เป้าหมาย ตลอดจนถึงวิธีการ และแบบวิภัชชวาท เป็นการจำแนกความจริง แยกส่วนประกอบ (๒) กระบวนวิธีปฏิบัติ ท่านเรียนให้รู้จากพระไตรปิฎก แล้วก็เอามาทำให้ดู ซึ่งปรากฏให้เห็นในวิถีความเป็นอยู่ของท่านแบบสวนโมกข์ ปฏิบัติให้เป็นตัวอย่างแก่ผู้ใคร่ศึกษา และ (๓) กระบวนวิธีนำเสนอ สร้างความรู้ ประมวลความรู้ และเผยแพร่ความรู้ ด้วยการชี้แจงให้เห็นอย่างชัดแจ้ง ๔) องค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ได้แก่ “SWPD MODEL” S ย่อมาจาก SERMON ได้แก่ การแสดงพระธรรมเทศนา การปาฐกถา การบรรยายธรรม W ย่อมาจาก WRITING ได้แก่ งานเขียนหนังสือ แปลหนังสือ P ย่อมาจาก POETRY ได้แก่ บทกวีนิพนธ์ บทร้อยกรอง D ย่อมาจาก DHAMMA PUZZLE ได้แก่ ปริศนาธรรมในโรงมหรสพทางวิญญาณ SWPD MODEL จึงเป็น กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ที่มีความเป็นเอกลักษณ์และประสบความสำเร็จ สามารถนำมาเป็นตัวอย่างในการเผยแผ่ทั้งวิธีการคิดวิเคราะห์ วิธีการปฏิบัติ และวิธีการนำเสนอ
ดุษฎีนิพนธ์เรื่อง “กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ” มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษากระบวนทัศน์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ๒) เพื่อศึกษาการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ๓) การสร้างกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ และ ๔) การนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบสัมภาษณ์ (Qualitative research interview) ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน ๑๒ รูป/คน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา นำเสนอในรูปแบบเชิงพรรณนา ผลการศึกษาวิจัย พบว่า ๑) กระบวนทัศน์ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นการเผยแผ่ที่พระพุทธเจ้าทรงสอนในรูปแบบต่าง ได้แก่ ๑. การเผยแผ่ด้วยการทำพระองค์เป็นแบบอย่าง ๒. การเผยแผ่ด้วยการให้ผู้ปฏิบัติสัมผัสกับสัจจะเกิดประสบการณ์ด้วยตนเอง ๓. การเผยแผ่ด้วยการแสดงธรรม ๔. การเผยแผ่ด้วยการให้ผู้ฝังคิดหาเหตุผลด้วยตนเอง และกิจกรรมเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระสงฆ์วัดและคณะสงฆ์ในปัจจุบันมีทั้งแบบ ประเพณี และปรับปรุงให้เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน ได้แก่ ๑. การเผยแผ่ตามประเพณีคณะสงฆ์และตามประเพณีไทย ๒. การเผยแผ่แบบปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพสังคมปัจจุบัน ๓. การเผยแผ่แบบจัดเป็นคณะ หรือหน่วยงานเผยแผ่ ๔. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาด้านคฤหัสถ์ มีการตั้งเป็นสมาคม ๒) การเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ในด้านการเทศน์ การปาฐกถา การเขียนหนังสือ การแปลหนังสือ บทกวีนิพนธ์ร้อยกรอง และในด้านปริศนาธรรมโรงมหรสพทางวิญญาณ ทั้ง ๔ ด้านนี้ ซึ่งในแต่ละด้านของกระบวนทัศน์นั้นมี ๓ วิธีการ แต่ละวิธีการมีประเด็นที่ศึกษา คือ (๑) วิธีคิดวิเคราะห์ ประกอบด้วยการศึกษาปัญหา สาเหตุ เป้าหมาย และศึกษาวิธีการ (๒) วิธีปฏิบัติ ประกอบด้วย กระบวนวิธีการเรียนให้รู้ ทำให้ดู อยู่ให้เห็น และปฏิบัติให้เป็นตัวอย่าง (๓) วิธีนำเสนอ ประกอบด้วย ชี้แจงให้เห็นชัด ชวนใจให้อยากรับเอาไปปฏิบัติ เร้าใจให้อาจหาญแกล้วกล้า ปลอบชโลมใจให้สดชื่นร่าเริง ๓) สร้างกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ประกอบด้วย (๑)กระบวนวิธีการคิดวิเคราะห์ โดยใช้หลักอริยสัจ ในการศึกษาปัญหา สาเหตุ เป้าหมาย ตลอดจนถึงวิธีการ และแบบวิภัชชวาท เป็นการจำแนกความจริง แยกส่วนประกอบ (๒) กระบวนวิธีปฏิบัติ ท่านเรียนให้รู้จากพระไตรปิฎก แล้วก็เอามาทำให้ดู ซึ่งปรากฏให้เห็นในวิถีความเป็นอยู่ของท่านแบบสวนโมกข์ ปฏิบัติให้เป็นตัวอย่างแก่ผู้ใคร่ศึกษา และ (๓) กระบวนวิธีนำเสนอ สร้างความรู้ ประมวลความรู้ และเผยแพร่ความรู้ ด้วยการชี้แจงให้เห็นอย่างชัดแจ้ง ๔) องค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ได้แก่ “SWPD MODEL” S ย่อมาจาก SERMON ได้แก่ การแสดงพระธรรมเทศนา การปาฐกถา การบรรยายธรรม W ย่อมาจาก WRITING ได้แก่ งานเขียนหนังสือ แปลหนังสือ P ย่อมาจาก POETRY ได้แก่ บทกวีนิพนธ์ บทร้อยกรอง D ย่อมาจาก DHAMMA PUZZLE ได้แก่ ปริศนาธรรมในโรงมหรสพทางวิญญาณ SWPD MODEL จึงเป็น กระบวนทัศน์ใหม่ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาตามแนวพุทธทาสภิกขุ ที่มีความเป็นเอกลักษณ์และประสบความสำเร็จ สามารถนำมาเป็นตัวอย่างในการเผยแผ่ทั้งวิธีการคิดวิเคราะห์ วิธีการปฏิบัติ และวิธีการนำเสนอ
The objectives of the dissertation entitled “A New Paradigm in Buddhist Propagation According to Buddhadasa Bhikkhu” were as follows: 1) to study a paradigm in Buddhist propagation, 2) to the Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu, 3) to create a new paradigm in Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu, and 4) to propose a new knowledge in “a new paradigm in Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu”. The data of this qualitative research were collected from documents and in-depth interviews with 12 experts and then analyzed by content analysis. The study results were presented in a descriptive method. The result of this research found that: 1) The paradigm in Buddhist propagation is the teaching that the Buddha did in many methods. They are 1) To behave himself as the sample or model, 2) To have the audience earn experiences by themselves, 3) To give a sermon, and 4) To let the audience consider and find causes and results by themselves. The propagations of Buddhism of monks in the present are both traditional and improving according to the social contexts nowadays. They are 1) To follow the Sangha traditions and Thai festivals, 2) To improve the propagating methods suitable to the social contexts at present, 3) To propagate by team or by unit, and 4) To propagate by lay-people in the form of organization. 2) The Buddhist propagation of Buddhadasa Bhikkhu was on giving a sermon, speech, book writing, translation, poetry and Dhamma puzzle in the theater of Dhamma and soul. Each paradigm can be classified into 3 methods; (1) Analytical thinking method consisting of the study of problem, cause, purpose and approach, (2) Practice consisting of study and learn, learning by doing, and presenting the model, and (3) Presentation consisting of clear explanation, practical inspiration, confidence alertness, and pleasurable feeling. 3) The creation of a new paradigm in Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu consist of; (1) Analytical thinking process based on the principles of the Four Noble Truths and classification system, (2) Practical process by referring to the sources in the Tipitaka and putting into practice in his temple as the sample, and (3) Presentation process consisting of accumulating knowledge, knowledge analysis and classification, and proposing the knowledge with clear explanation. 4) The body of knowledge on a new paradigm in Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu can be concluded in “SWPD Model”. S stands for Sermon, W for Writing, P for Poetry, and D for Dhamma Puzzle. SWPD MODEL is a new paradigm in Buddhist propagation according to Buddhadasa Bhikkhu. The propagation has identity and is successful in practice. It can be used as a model in Buddhist propagation in 3 aspects; analytical thinking, practice and presentation.