Search results

5 results in 0.09s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ด) สาขาวิชาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาการพัฒนามนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) เพื่อศึกษาหลักฆราวาสธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท แล้ว ๓) เพื่อศึกษาการพัฒนามนุษย์ตามหลักฆราวาสธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท โดยใช้วิธีวิจัยเอกสาร คือ ศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และตำราอื่นๆ ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า พระพุทธศาสนามีคำสอนที่เป็นความจริงระดับสัจธรรม ซึ่งเกิดจากประสบการณ์ของพระพุทธเจ้าที่ทรงทดลองค้นคว้าหาความจริงด้วยพระองค์เองและบรรลุผลในทางปฏิบัติ และอีกทั้งหลักคำสอนมีเป้าหมายที่ชัดเจนจึงสามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนามนุษย์ให้สามารถบรรลุผลได้ แนวคิดการพัฒนามนุษย์ในทางพระพุทธศาสนามาจากความคิดที่ว่า มนุษย์เป็นสัตว์ที่รู้คิดด้วยเหตุผลและเป็นสัตว์ที่สามารถพัฒนาได้จนถึงจุดสูงสุดเป็นพุทธะ โดยมีพระพุทธเจ้าทรงเป็นต้นแบบของการพัฒนาที่สูงสุด ฆราวาสธรรม หมายถึง ธรรมสำหรับฆราวาสธรรมสำหรับการครองเรือนหลักการครองชีวิตของคฤหัสถ์ ๔ ประการ ได้แก่ สัจจะ คือ ความซื่อสัตย์จริงใจต่อกันเป็นหลักสำคัญที่จะให้เกิดความไว้วางใจและไมตรีจิตสนิทต่อกัน ทมะ คือ การรู้จักบังคับควบคุมอารมณ์ข่มใจระงับความรู้สึกต่อเหตุบกพร่องของกันและกันรู้จักฝึกฝนปรับปรุงตนแก้ไขข้อบกพร่องปรับนิสัยและอัธยาศัยให้กลมกลืนประสานเข้าหากันได้ ขันติ คือ ความอดทนอดกลั้นต่อความหนักและความร้ายแรงทั้งหลาย จาคะ คือ ความเสียสละความเผื่อแผ่แบ่งปันตลอดถึงความมีน้ำใจเอื้อเฟื้อต่อกัน การพัฒนามนุษย์ตามหลักฆราวาสธรรม ๔ ประการ ได้แก่ สัจจะ ทมะ ขันติ และจาคะ เพื่อมุ่งหมายให้ใช้ประชาชนทั่วไปในชีวิตการครองเรือนทั้งหมดยึดถือเป็นคุณธรรมพื้นฐานของจิตใจในการที่จะสร้างความสัมพันธ์อันดีงามกับคนทั้งหลายที่จะอยู่ร่วมหรือติดต่อเกี่ยวข้องกันให้เหมาะสมตามฐานะนั้นๆ เพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ชีวิตของตนเองและแก่ชีวิตของคนอื่นๆ ในสังคม
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาการพัฒนามนุษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) เพื่อศึกษาหลักฆราวาสธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท แล้ว ๓) เพื่อศึกษาการพัฒนามนุษย์ตามหลักฆราวาสธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท โดยใช้วิธีวิจัยเอกสาร คือ ศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และตำราอื่นๆ ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า พระพุทธศาสนามีคำสอนที่เป็นความจริงระดับสัจธรรม ซึ่งเกิดจากประสบการณ์ของพระพุทธเจ้าที่ทรงทดลองค้นคว้าหาความจริงด้วยพระองค์เองและบรรลุผลในทางปฏิบัติ และอีกทั้งหลักคำสอนมีเป้าหมายที่ชัดเจนจึงสามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนามนุษย์ให้สามารถบรรลุผลได้ แนวคิดการพัฒนามนุษย์ในทางพระพุทธศาสนามาจากความคิดที่ว่า มนุษย์เป็นสัตว์ที่รู้คิดด้วยเหตุผลและเป็นสัตว์ที่สามารถพัฒนาได้จนถึงจุดสูงสุดเป็นพุทธะ โดยมีพระพุทธเจ้าทรงเป็นต้นแบบของการพัฒนาที่สูงสุด ฆราวาสธรรม หมายถึง ธรรมสำหรับฆราวาสธรรมสำหรับการครองเรือนหลักการครองชีวิตของคฤหัสถ์ ๔ ประการ ได้แก่ สัจจะ คือ ความซื่อสัตย์จริงใจต่อกันเป็นหลักสำคัญที่จะให้เกิดความไว้วางใจและไมตรีจิตสนิทต่อกัน ทมะ คือ การรู้จักบังคับควบคุมอารมณ์ข่มใจระงับความรู้สึกต่อเหตุบกพร่องของกันและกันรู้จักฝึกฝนปรับปรุงตนแก้ไขข้อบกพร่องปรับนิสัยและอัธยาศัยให้กลมกลืนประสานเข้าหากันได้ ขันติ คือ ความอดทนอดกลั้นต่อความหนักและความร้ายแรงทั้งหลาย จาคะ คือ ความเสียสละความเผื่อแผ่แบ่งปันตลอดถึงความมีน้ำใจเอื้อเฟื้อต่อกัน การพัฒนามนุษย์ตามหลักฆราวาสธรรม ๔ ประการ ได้แก่ สัจจะ ทมะ ขันติ และจาคะ เพื่อมุ่งหมายให้ใช้ประชาชนทั่วไปในชีวิตการครองเรือนทั้งหมดยึดถือเป็นคุณธรรมพื้นฐานของจิตใจในการที่จะสร้างความสัมพันธ์อันดีงามกับคนทั้งหลายที่จะอยู่ร่วมหรือติดต่อเกี่ยวข้องกันให้เหมาะสมตามฐานะนั้นๆ เพื่อประโยชน์สุขทั้งแก่ชีวิตของตนเองและแก่ชีวิตของคนอื่นๆ ในสังคม
This thesis serves the purposes: 1) to study human development in Theravada Buddhist Philosophy, 2) to study the rule of a good household life in Theravada Buddhist Philosophy, and 3) to study human development following rule of a good household life in Theravada Buddhist Philosophy. It has been carried out with qualitative research methodology, of which its sources include The Tipitaka, relevant researches and other texts to supplement it. The results of the research were found that: Buddhism is a truth-level teaching. This is due to the experience of the Buddha, who tried to find his own truth and attain practical results. Also, the doctrine has clear goals that can be used as a tool for human development to achieve results. The concept of human development in Buddhism comes from the idea that Human beings are rational creatures and animals that can develop to the highest point are enlightened. The Buddha is the model of the highest development. Secular Dharma means the Dharma for the secular Dharma for the four princes of the family. The truth is the sincerity and sincerity of each other, is the key to the trust and goodwill towards each other is to control emotions. To restrain the sense of each other's weaknesses, to know how to improve and correct their defects, adjust the habit and harmony to harmonize. The weave together tolerance is not tolerance to heavy and serious, it is necessary to sacrifice their generous sharing through the generous contributions of each other. Human development based on four secular principles, namely, Suthatha, Khan, and Jaga, aiming at using the general public in the life of the whole household to uphold the basic virtue of mind in order to build good relationships with people who will. To co-operate or contact each other to the appropriate position. To benefit both their own lives and the lives of others in society.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551