Search results

15 results in 0.11s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    รหัสวิชา 2203-2009 ได้ผ่านการตรวจประเมินคุณภาพจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 คร้ังที่ 2 ประเภทวิชาพาณิชกรรม กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ ประกาศลำดับที่ 76
Note: รหัสวิชา 2203-2009 ได้ผ่านการตรวจประเมินคุณภาพจากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 คร้ังที่ 2 ประเภทวิชาพาณิชกรรม กลุ่มทักษะวิชาชีพเฉพาะ ประกาศลำดับที่ 76
TOC:
  • บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาบุคลิกภาพ
  • บทที่ 2 ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับบุคลิกภาพ
  • บทที่ 3 แบบทดสอบบุคลิกภาพ
  • บทที่ 4 ศิลปะการแต่งกาย
  • บทที่ 5 การปฏิบัติตนด้านสุขอนามัย
  • บทที่ 6 มารยาททางสังคม
  • บทที่ 7 วัฒนธรรมระหว่างประเทศ
  • บทที่ 8 บุคลิกภาพและกิจนิสัยที่พึงประสงค์ในการปฏิบัติงาน
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
  • บทที่ 2 ทฤษฎีบุคลิกภาพ
  • บทที่ 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ
  • บทที่ 4 การเสริมสร้างปรับปรุงบุคลิกภาพ
  • บทที่ 5 การรับรู้เกี่ยวกับตนเองและผู้อื่น
  • บทที่ 6 สุขภาพจิตและการปรับตัว
  • บทที่ 7 มนุษยสัมพันธ์กับบุคลิกภาพ
  • บทที่ 8 การวางตัวและปรากฏตัวต่อชุมชน
  • บทที่ 9 บุคลิกภาพที่สมบูรณ์
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 แนวคิด รู้จักการควบคุมอารมณ์ สร้างรากฐานความสุขให้ชีวิต
  • บทที่ 2 พิชิตปัญหาเรื่องการควบคุมอารมณ์
  • บทที่ 3 สถานการณ์จำลอง
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ในการทำวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาบุคลิกภาพ 2) เพื่อศึกษาหลักอภิสมาจารในพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการค้นคว้าข้อมูลจากพระไตรปิฎก เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 14 ท่านและได้นำข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์อภิปรายผลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาบุคลิกภาพ เป็นกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์ให้แสดงออกตามบทบาทหน้าที่และสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ถูกต้องตามกาลเทศะ เป็นการพัฒนาองค์รวมของการแสดงออกทางอิริยาบทที่สัมพันธ์กับบุคคลสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม หลักอภิสมาจารในพระพุทธศาสนา เป็นกระบวนการพัฒนาบุคลิกภาพของบรรพชิต ตามสิกขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ให้พระสงฆ์ปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นแนวทางปฏิบัติที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรมให้เจริญขึ้น โดยมีความเมตตาเป็นฐาน เป็นลักษณะของพระสงฆ์ที่ทำให้เกิดความศรัทธาเลื่อมใสของประชาชน การบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร เป็นการนำเอาหลักการพัฒนาบุคลิกภาพตามแนวคิดทฤษฎีตะวันตกและนักวิชาการชาวไทยบูรณาการกับหลักการพัฒนาบุคลิกภาพทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้ได้รูปแบบการพัฒนาบุคลิกภาพที่เหมาะสมเพื่อนำมาเป็นแนวทางพัฒนาบุคลิกภาพ 4 ด้าน คือ 1) ทางกาย 2) ทางวาจา 3) ทางอารมณ์ และ 4) ทางสังคม รูปแบบบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร ได้องค์ความรู้คือ LOTUS MODEL
ดุษฎีนิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ในการทำวิจัยดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาบุคลิกภาพ 2) เพื่อศึกษาหลักอภิสมาจารในพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร 4) เพื่อนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับ “รูปแบบบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการค้นคว้าข้อมูลจากพระไตรปิฎก เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 14 ท่านและได้นำข้อมูลมาศึกษาวิเคราะห์อภิปรายผลเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาบุคลิกภาพ เป็นกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของมนุษย์ให้แสดงออกตามบทบาทหน้าที่และสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม ถูกต้องตามกาลเทศะ เป็นการพัฒนาองค์รวมของการแสดงออกทางอิริยาบทที่สัมพันธ์กับบุคคลสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม หลักอภิสมาจารในพระพุทธศาสนา เป็นกระบวนการพัฒนาบุคลิกภาพของบรรพชิต ตามสิกขาบทที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้ให้พระสงฆ์ปฏิบัติในการอยู่ร่วมกันอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นแนวทางปฏิบัติที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรมให้เจริญขึ้น โดยมีความเมตตาเป็นฐาน เป็นลักษณะของพระสงฆ์ที่ทำให้เกิดความศรัทธาเลื่อมใสของประชาชน การบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร เป็นการนำเอาหลักการพัฒนาบุคลิกภาพตามแนวคิดทฤษฎีตะวันตกและนักวิชาการชาวไทยบูรณาการกับหลักการพัฒนาบุคลิกภาพทางพระพุทธศาสนา เพื่อให้ได้รูปแบบการพัฒนาบุคลิกภาพที่เหมาะสมเพื่อนำมาเป็นแนวทางพัฒนาบุคลิกภาพ 4 ด้าน คือ 1) ทางกาย 2) ทางวาจา 3) ทางอารมณ์ และ 4) ทางสังคม รูปแบบบูรณาการการพัฒนาบุคลิกภาพด้วยอภิสมาจาร ได้องค์ความรู้คือ LOTUS MODEL
The objectives of this dissertation were: 1) to study personality development, 2) to study Abhisamācāra principles in Buddhism, 3) to integrate the personality development with Abhisamācāra, and 4) to propose a body of knowledge on “A model of personality development integration with Abhisamācāra”. The data of this qualitative study were collected from the Tipitaka, documents, research works and in-depth interviews with 14 experts. The data were analyzed and then presented in a descriptive method. The results of the study were found that: Personality development is a process in adjusting human behaviours suitable to their role, duty, situation, and space and time. It is a holistic development of gestures and manners relating to person, environment and culture. Abhisamācāra in Buddhism is a personality development of monks based on the codes on conduct set forth by the Lord Buddha in order that the order of monks can live together happily and peacefully. It is the guideline of practice supporting and cultivating the advantage of virtues based on loving-kindness and it help create trust and belief among people on Buddhist monks. The integration of personality development with Abhisamācāra is to integrate the concepts and theories of personality development of western scholars and eastern scholars with personality development principles in Buddhism in order to obtain a suitable personality development model in 4 aspects; 1) Physical development, 2) Verbal development, 3) Emotional development, and 4) Social development. The body of knowledge in the integration of personality development with Abhisamācāra obtained from the study can be concluded into “LOTUS MODEL”.
หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
  • การพัฒนาลักษณะนิสัยและมนุษยสัมพันธ์
  • การเสริมสร้างสุขภาพอนามัย
  • มารยทสังคม
  • อิริยาบถ
  • การดูแลรักษารูปลักษณ์
  • การแต่งกาย
  • ทักษะการพูดเพื่อบุคลิกภาพที่ดี
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • รู้จักอารมณ์ของตนเอง
  • เชาวน์ปัญญาด้านต่างๆ
  • ลักษณะเฉพาะของคุณ
  • การปรับใช้เอนเนียแกรมในการดำเนินชีวิต
  • แบบทดสอบเพื่อวิเคราะห์บุคลิกภาพ
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ