Search results

88 results in 0.16s

หนังสือ

    งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะจากการศึกษาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 23 คน ครู จำนวน 128 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 161 คน รวมทั้งสิ้น 312 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า F – test ( one-way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย เป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน ครู และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 2. ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน ครู และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ผู้บริหารโรงเรียน ครู และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เพื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะจากการศึกษาการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 23 คน ครู จำนวน 128 คน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 161 คน รวมทั้งสิ้น 312 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่า F – test ( one-way ANOVA) ถ้าพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จะทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย เป็นรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน ครู และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 2. ผลการเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน ครู และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า ผู้บริหารโรงเรียน ครู และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เพื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาฬสินธุ์ เขต 2 ตามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียน ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีดังนี้ ด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ควรมีการสำรวจปัญหา และความต้องการของผู้เรียน ครู ผู้ปกครองและชุมชน ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ควรยึดหลักความรู้ความเข้าใจและพัฒนาการของผู้เรียนเป็นหลัก ด้านการวัดผลประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน ควรวัดผลประเมินผลให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา ประเมินตามสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลายเป็นที่ยอมรับ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ควรสร้างความตระหนักให้ครูเห็นความสำคัญของการวิจัยในชั้นเรียน ใช้การวิจัยในชั้นเรียนเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา ควรมีการจัดสรรงบประมาณ ในการพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ควรปรับเกณฑ์ประกันคุณภาพภายในตามขนาดโรงเรียน ภาระงาน สภาพแวดล้อมทางกายภาพและเศรษฐกิจ
The objectives of the research were: 1) to study the academic administration by small-sized schools under the Office of Primary Education Service, Kalasin Area 2, 2) to compare the opinions of the administrators, teachers and school committee members concerning the academic administration by the said schools, and 3) to survey the suggestions proposed by the respondents in the schools as mentioned. The samples were totally 312 in number, consisting of 23 administrators, 128 teachers and 161 school committee members. The device used for data collection was the five-rating scale questionnaire, and the statistical tools employed for data analysis were frequency, percentage, mean, S.D., and F-test (One way ANOVA). In case the significantly statistical difference was found, the LSD method was used to test the difference. The research results were as follows: 1. The opinions of the administrators, teachers and school committee members concerning the academic administration by the schools under the Office of Primary Education Service. Kalasin Area 2 were found, on both overall and individual aspects, to stand at the ‘MUCH’ level. The aspect that showed the highest mean was development of curriculum and the aspect that stood on the bottom was development of innovative media and education technology. 2. The comparison of the opinions of the administrators, teachers and school committee members concerning the academic administration by the said schools was found, in an overall aspect, to show statistically significant difference at the level of .05, whereas in an individual aspect, such items as curriculum development, learning process development, classroom action research and internal assessment development were found to show the statistically significant difference at the same rate of .05. 3. The suggestions proposed by the respondents were the following: The curriculum development required the survey of the prevalent problems and needs of the learners, teachers, guardians and surrounding community. The development of learning process should be based on the intelligence and development of the learners. The performance assessment and transfers should comply with the curriculum in use and refer to the real time situation, with variety of the measures. The classroom action research should be regarded as part of the learning and teaching process. The development of innovative media and education technology, the effective allotment of budget that sufficiently meet with the demands should be managed and the development of internal assessment procedures should be based on the school size, responsibilities, physical and economic environment.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตามตำแหน่ง และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาในประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำนวน 117 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ด้วยการหาค่า t-test และ F-test ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 โดยรวมมีระดับการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากสูงไปหาต่ำ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา และด้านการนิเทศการศึกษา 2. การเปรียบเทียบสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตามตำแหน่ง โดยรวมและด้านการพัฒนาการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการนิเทศการศึกษาไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 สถานศึกษาควรส่งเสริมและพัฒนาทักษะครูให้มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ด้าน ภาษาต่างประเทศ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในด้านการจัดนวัตกรรมการเรียนรู้หรือจัดกิจกรรมใหม่ๆร่วมกับโรงเรียน เครือข่ายและสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในการจัดทำแหล่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ประชาคมอาเซียน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตามตำแหน่ง และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาในประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำนวน 117 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ด้วยการหาค่า t-test และ F-test ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 โดยรวมมีระดับการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากสูงไปหาต่ำ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา และด้านการนิเทศการศึกษา 2. การเปรียบเทียบสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตามตำแหน่ง โดยรวมและด้านการพัฒนาการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการนิเทศการศึกษาไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 สถานศึกษาควรส่งเสริมและพัฒนาทักษะครูให้มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ด้าน ภาษาต่างประเทศ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในด้านการจัดนวัตกรรมการเรียนรู้หรือจัดกิจกรรมใหม่ๆร่วมกับโรงเรียน เครือข่ายและสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในการจัดทำแหล่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ประชาคมอาเซียน
The purposes of the thesis were: 1) to study the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1. 2) to compare the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1 to differences of their position and work experiences, 3) to examine suggestions for the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1. The sampling groups employed for the research comprised 117 subjects working for their schools. The research instrument used for data collection was the Likert-type questionnaire, of which every question in the questionnaire had its IOC between 0.67 and 1.00, and its reliability at 0.94. Statistics for data analyses embraced: frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test, comparing paired differences by Scheffe’s method. Results of the study have found The following findings: 1. Current condition the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1. Overall, there is a level of practice Very high Sort by high to low is development of the curriculum, development of teaching, development of learning resources, mmeasurement and evaluation of learning, ddevelopment of Educational technology media and Education supervision. 2. to compare the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1 to differences of their position Overall, and the development of teaching and learning, measurement and evaluation of learning, development of learning resources, education supervision not different. The development of the curriculum, development of educational technology media. There were statistically significant differences at the .05 level. Classification of work experience overall and individual not different. 3.The suggestion the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1. Should promote and develop teacher skills the ability to manage the learning. Foreign language. Organize learning activities the innovation of learning or organize new activities with the school network. Collaborate with the private sector. To develop learning resources for the development of learners in the ASEAN community.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา 2) ศึกษาคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือสังกัด สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร และ 3) ศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 73 แห่ง จำแนกเป็นสถานศึกษาระดับประถมศึกษาแต่ละเขตโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified style Sampling) กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา/รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 361 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมมั่นเท่ากับ 0.96 และคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาได้ค่าความเชื่อมมั่นเท่ากับ 0.97 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่า ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารจัดการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับงานวิชาการ 2. คุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือสังกัดสำนักการ ศึกษา กรุงเทพมหานคร มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน คือ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพที่ดีและมีสุนทรียภาพ และมาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ตามลำดับ 3. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร คือ ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา และด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับงานวิชาการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 29.50 (R2 = 0.295) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂ = 2.010+ 0.252(AT) + 0.236(FT) (R2 = 0.295) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 0.354 (ZFT) + 0.360 (ZAT) (R2 = 0.295)
การศึกษามีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา 2) ศึกษาคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือสังกัด สำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร และ 3) ศึกษาการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 73 แห่ง จำแนกเป็นสถานศึกษาระดับประถมศึกษาแต่ละเขตโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified style Sampling) กำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยมีผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา/รองผู้บริหารสถานศึกษา หัวหน้าฝ่ายวิชาการ และครูผู้สอน รวมทั้งหมด 361 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาได้ค่าความเชื่อมมั่นเท่ากับ 0.96 และคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาได้ค่าความเชื่อมมั่นเท่ากับ 0.97 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่า ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบริหารจัดการเรียนรู้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับงานวิชาการ 2. คุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือสังกัดสำนักการ ศึกษา กรุงเทพมหานคร มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน คือ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพที่ดีและมีสุนทรียภาพ และมาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล ตามลำดับ 3. การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาระดับประถมศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร คือ ด้านการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา และด้านการประกันคุณภาพการศึกษากับงานวิชาการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 29.50 (R2 = 0.295) สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปของสมการทำนายได้ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂ = 2.010+ 0.252(AT) + 0.236(FT) (R2 = 0.295) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 0.354 (ZFT) + 0.360 (ZAT) (R2 = 0.295)
The objectives of the study were; 1) to study academic administration of primary school administrators in North Krungthon Group, Department of Education Bangkok Metropolitan Administration, 2) to study the quality of primary school students in North Krungthon Group, Department of Education Bangkok Metropolitan Administration, and 3) to study academic administration of school administrators affecting the quality of students in the primary schools, North Krungthon Group, Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration. The samples were 73 schools under North Krungthon Group, Department of Education Bangkok Metropolitan Administration. The data were collected by questionnaires regarding the academic administration of school administrator and quality of students from361 respondents consisting of school directors/deputy directors, heads of divisions and teacher. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression analysis. The results of research were found that 1. The academic administration of primary school administrator in North Krungthon Group, Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration, was at a high level totally. The average score ranked from the highest to the lowest started with Learning management, followed by Research for improving the quality of education, and Educational quality assurance and academic work respectively. 2. The quality of primary school students in North Krungthon Group, Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration, was at a high level in total and in aspects. The highest level was on Standard 2: learners have morals, ethics and desirable values, followed by Standard 1: learners have good health and aesthetics, and Standard 4: learners have ability to think systematically, think creatively, and solve problems reasonably. 3. The academic administration of school administrator affected the quality of primary school students in North Krungthon Group, Department of Education, Bangkok Metropolitan Administration with statistically significant figure at 0.01 in curriculum management and educational quality assurance with prediction coefficient value at 29.50 (R2 = 0.295). It could be written in regression equation analysis as follows: Raw Score Equation Y ̂ = 2.010+ 0.252(AT) + 0.236(FT) (R2 = 0.295) Standard Equation Z ̂y = = 0.354 (ZFT) + 0.360 (ZAT) (R2 = 0.295)