Search results

25 results in 0.12s

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงบประมาณ ตามหลักธรรมมาภิบาล ของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงบประมาณ ตามหลักธรรมมาภิบาล ของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยจำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงบประมาณ ตามหลักธรรมมาภิบาล ของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารและครูผู้สอน จำนวน 285 คน และผู้ให้สัมภาษณ์ 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม โดยมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.90 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ t – test (Independent Samples) และ F – test ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารงบประมาณตามหลักธรรมาภิบาล ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดทำและเสนอของบประมาณตามหลักธรรมาภิบาล รองลงมา คือ ด้านการบริหารบัญชีตามหลักธรรมาภิบาล ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณตามหลักธรรมาภิบาล 2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน แตกต่างกันมีความคิดเห็น โดยรวมและรายด้านทุกด้านไม่แตกต่างกัน ยกเว้น เพศ ที่แตกต่างกัน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 3) แนวทางการบริหารงบประมาณตามหลักธรรมมาภิบาล ของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ได้แนวทาง ดังนี้ (1) ผู้บริหารสถานศึกษายึดกฎระเบียบในการจัดทำและเสนอของบประมาณโดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาและเปิดโอกาสให้บุคลากรได้มีส่วนร่วม (2) ผู้บริหารมีความเป็นกลางในการจัดสรรงบประมาณและจัดสรรให้เพียงพอต่อความจำเป็นและจัดสรรอย่างโปร่งใส (3) สถานศึกษาแต่งตั้งผู้รับผิดชอบและทำแผนการติดตามประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณจัดให้มีการระดมความคิดของบุคลากรเพื่อพัฒนาผลการใช้จ่ายงบประมาณให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด (4) สถานศึกษาจัดทำแผนการระดมทรัพยากรโดยให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมและยึดประสิทธิผลที่จะเกิดกับสถานศึกษาและชุมชนเป็นหลัก (5) สถานศึกษามีแนวทางบริหารการเงิน ดำเนินการตามระเบียบกระทรวงการคลังดำเนินการตามแผนปฏิบัติการประจำปี และสามารถเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ (6) สถานศึกษามีการกำกับติดตามหลักฐานการเบิกจ่ายและการจัดทำบัญชีที่โปร่งใส (7) สถานศึกษามีการจัดทำทะเบียนพัสดุและสินทรัพย์ที่เป็นปัจจุบันดำเนินงานตามระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างพุทธศักราช 2560 ด้วยความโปร่งใส
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงบประมาณ ตามหลักธรรมมาภิบาล ของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงบประมาณ ตามหลักธรรมมาภิบาล ของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยจำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงบประมาณ ตามหลักธรรมมาภิบาล ของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นผู้บริหารและครูผู้สอน จำนวน 285 คน และผู้ให้สัมภาษณ์ 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม โดยมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.90 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน โดยใช้ t – test (Independent Samples) และ F – test ผลการวิจัยพบว่า: 1) การบริหารงบประมาณตามหลักธรรมาภิบาล ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดทำและเสนอของบประมาณตามหลักธรรมาภิบาล รองลงมา คือ ด้านการบริหารบัญชีตามหลักธรรมาภิบาล ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการติดตามตรวจสอบและประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณตามหลักธรรมาภิบาล 2) ผลการเปรียบเทียบ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีระดับการศึกษาและประสบการณ์ทำงาน แตกต่างกันมีความคิดเห็น โดยรวมและรายด้านทุกด้านไม่แตกต่างกัน ยกเว้น เพศ ที่แตกต่างกัน โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 3) แนวทางการบริหารงบประมาณตามหลักธรรมมาภิบาล ของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ได้แนวทาง ดังนี้ (1) ผู้บริหารสถานศึกษายึดกฎระเบียบในการจัดทำและเสนอของบประมาณโดยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาและเปิดโอกาสให้บุคลากรได้มีส่วนร่วม (2) ผู้บริหารมีความเป็นกลางในการจัดสรรงบประมาณและจัดสรรให้เพียงพอต่อความจำเป็นและจัดสรรอย่างโปร่งใส (3) สถานศึกษาแต่งตั้งผู้รับผิดชอบและทำแผนการติดตามประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณจัดให้มีการระดมความคิดของบุคลากรเพื่อพัฒนาผลการใช้จ่ายงบประมาณให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด (4) สถานศึกษาจัดทำแผนการระดมทรัพยากรโดยให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมและยึดประสิทธิผลที่จะเกิดกับสถานศึกษาและชุมชนเป็นหลัก (5) สถานศึกษามีแนวทางบริหารการเงิน ดำเนินการตามระเบียบกระทรวงการคลังดำเนินการตามแผนปฏิบัติการประจำปี และสามารถเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้ (6) สถานศึกษามีการกำกับติดตามหลักฐานการเบิกจ่ายและการจัดทำบัญชีที่โปร่งใส (7) สถานศึกษามีการจัดทำทะเบียนพัสดุและสินทรัพย์ที่เป็นปัจจุบันดำเนินงานตามระเบียบการจัดซื้อจัดจ้างพุทธศักราช 2560 ด้วยความโปร่งใส
The objectives of the research were 1) to study budget management based on the good governance by school administrators of the educational opportunity expansion schools under the Roi Et Primary Educational Service Area Office 2, 2) to compare budget management based on the good governance by school administrators classified by gender, education and working experiences, and, 3) to find out the guidelines for budget management based on the good governance by school administrators of the said schools. Samples were the administrators and teachers, totally 285 in number and 10 interviews. The instrument for collecting the data was the questionnaire, with its reliability value at 0.90 and quality-verified interview. The data collected were analyzed by the computer program, and the statistical devices composed of Frequency, percentage, mean, standard deviation. The hypothesis was tested with t-test, and One-way ANOVA F-test. The research results were as follows: 1) budget management based on the good governance by school administrators of the educational opportunity expansion schools under the Roi Et Primary Educational Service Area Office 2 was found, in both overall and individual aspects, to stand at a 'Medium' level. The leading aspect was the budget preparation and submission for approval, followed by accounting and auditing financial expenses, respectively. 2) The comparison of the leadership of the school administrator in mention classified by education and working experiences was found to show no difference in both overall and individual dimensions. The statistically significant difference of .05 was found in the comparison in terms of gender. 3) The guidelines for budget management based on the good governance by school administrators as suggested by the responses were: (1) The budget preparation should follow the rules and regulations concerned, be based on the real needs of the schools and provide the opportunity for personnel's participation. (2) The principles of neutrality and transparency should be followed in budget allocation. (3) One in charge of follow-up and audit of budget expending should be appointed, and the brain-storming should be arranged to enhance the efficiency of budget payment. (4) A plan for resource mobilizing should be set up with participation of all sectors concerned for the benefits of the schools and surrounding communities. (5) The guidelines for monitory management should be specified in compliance with the rules issued by the Ministry of Finance and the annual operation plan, and they should be notified for the public. (6) The monitoring and accounting system should be conducted clearly. (7) The records of premises and materials should be established under the Regulations Governing Procumbent 2560(2017).
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศศ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 แนวคิดว่าด้วยการเงินด้านอุปสงค์
  • บทที่ 3 คูปองการศึกษา
  • บทที่ 4 การอุดหนุนทางการเงินแบบมีเงื่อนไข
  • บทที่ 5 เงินอุดหนุนแบบรายหัวแก่สถานศึกษา
  • บทที่ 6 การจัดสรรงบประมาณการศึกษาขั้้นพื้นฐานสำหรับประเทศไทย
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ส่วนที่ 1 บทนำ
  • ส่วนที่ 2 ผลการวิเคราะห์รายจ่ายด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2557
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 ทฤษฎีแนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • บทที่ 3 กระบวนการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการจัดทำงบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชาย โดยใช้การประชุมปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Workshop)
  • บทที่ 4 สรุปผลการศึกษาและการประเมินหลักสูตรการอบรมเชิงปฏิบัติการ "การจัดทำงบประมาณที่คำนึงถึงมิติหญิงชายแบบมีส่วนร่วมสำหรับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น"
  • บทที่ 5 บทสรุป ข้อเสนอแนะ และแนวทางขับเคลื่อนในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • 1. อะไรคือความหมายของการทำกำไร แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับยอดขาย ต้นทุน และกำไร
  • 2. แค่มีความเข้าใจงบการเงินเบื้องต้น ก็ทำให้รู้สภาพความมั่นคงของบริษัทได้
  • 3. การประชุมภายในบริษัทจะสามารถเป็นเกราะคุ้มครองบริษัทได้หรือไม่ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับงบการเงินภายในบริษัท
  • 4. คุณเข้าใจสิ่งที่อยู่ในกระเป๋าสตางค์ของคุณหรือไม่ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษีและประกันสังคมที่เกี่ยวข้องกับเงินเดือน
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 รายจ่ายด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2558
  • บทที่ 3 บทวิเคราะห์รายจ่ายด้านการศึกษาของประเทศไทย
  • บทที่ 4 สรุปและข้อเสนอแนะ
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557