Search results

17 results in 0.14s

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม
  • บทที่ 2 คุณสมบัติของผู้ตรวจประเมิน
  • บทที่ 3 การเตรียมการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม
  • บทที่ 4 การตรวจประเมินในพื้นที่
  • บทที่ 5 การจัดเตรียมรายงานการตรวจประเมิน
  • บทที่ 6 การประเมินและพัฒนาผู้ตรวจประเมิน
  • บทที่ 7 การจัดการสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด
  • บทที่ 8 การขอการรับรองการตรวจประเมินการจัดการสิ่งแวดล้อม
  • บทที่ 9 การรับรองหน่วยงานตรวจประเมินในประเทศไทย
  • บทที่ 10 การเตรียมพร้อมรับการตรวจประเมิน
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2551
หนังสือ

หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษานโยบายของเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ที่มีผลต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของนโยบายและสิ่งแวดล้อมของเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ที่มีผลต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ ของประชาชนที่มีเพศ อายุ และอาชีพ ต่างกัน และ3) เพื่อเสนอแนวทางจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 391 คนแล้วใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบสมมติฐานของการวิจัย ใช้การแจกแจง ไค-สแควร์ (Chi-Square) แล้วทำการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1) นโยบายของเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ที่มีผลต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดได้แก่ ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว รองลงมา คือ ด้านการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ด้านการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน 2) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศและอาชีพของประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กับต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ โดยรวม 3 ด้าน ส่วนปัจจัยด้านอายุของประชาชน มีความสัมพันธ์กับ ต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ โดยรวม 3 ด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ประชาชนเสนอแนวการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว คือ ป้ายบอกทางท่องเที่ยวในชุมชน ทำลายทัศนียภาพอันสวยงาม ด้านการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต คือ ประชาชนควรมีส่วนร่วมของการป้องกัน ฟื้นฟู ส่งเสริม สุขภาพอนามัยและสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมชายหาด ด้านการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน คือ ควรปรับปรุง ระบบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจำนวน
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษานโยบายของเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ที่มีผลต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของนโยบายและสิ่งแวดล้อมของเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ที่มีผลต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ ของประชาชนที่มีเพศ อายุ และอาชีพ ต่างกัน และ3) เพื่อเสนอแนวทางจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 391 คนแล้วใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบสมมติฐานของการวิจัย ใช้การแจกแจง ไค-สแควร์ (Chi-Square) แล้วทำการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient) ผลการวิจัยพบว่า 1) นโยบายของเทศบาลเมืองประจวบคีรีขันธ์ที่มีผลต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดได้แก่ ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว รองลงมา คือ ด้านการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ด้านการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน 2) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศและอาชีพของประชาชน ไม่มีความสัมพันธ์กับต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ โดยรวม 3 ด้าน ส่วนปัจจัยด้านอายุของประชาชน มีความสัมพันธ์กับ ต่อการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ โดยรวม 3 ด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ประชาชนเสนอแนวการจัดการสิ่งแวดล้อมชายหาดอ่าวประจวบ ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว คือ ป้ายบอกทางท่องเที่ยวในชุมชน ทำลายทัศนียภาพอันสวยงาม ด้านการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต คือ ประชาชนควรมีส่วนร่วมของการป้องกัน ฟื้นฟู ส่งเสริม สุขภาพอนามัยและสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมชายหาด ด้านการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐาน คือ ควรปรับปรุง ระบบการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจำนวน
The objectives of this thematic paper were as follows: 1) to study the policy of Prachuap Khiri Khan Municipality affecting the seaside environment management of Prachuap Bay; 2) to study the relationship between policy and environment of Prachuap Khiri Khan Municipality affecting the environmental management of Prachuap Bay, and people with different gender, age and occupation, and 3) to suggest environmental management guidelines for Prachuap Bay. The tools used in the research were questionnaires. The sample group was 391 people in Prachuap Khiri Khan Municipality and Accidental Sampling was used to collect data. The descriptive statistics were used, such as frequency, percentage, mean, standard deviation, hypothesis testing, Chi-Square distribution, and Correlation Coefficient. The results of the research were found as follows: 1) Policies of Prachuap Khiri Khan Municipality affecting the environmental management of Prachuap Bay, were overall at a high level. Considering each aspect, it was found that the most average values were in the aspect of economic and the aspect of tourism development, followed by the aspect of social development and the aspect of quality of life, and the least average aspect was In the aspect of development of infrastructure systems. 2) Personal factors of gender and occupation, had no relationship with the environmental management of Prachuap Bay, in total 3 aspects. Personal factors of age had a relationship with the environmental management of Prachuap Bay, in total 3 aspects, with statistical significance at the level of 0.05. 3) People suggested the environmental management guidelines of Prachuap Bay as follows: In terms of economic development and tourism, tourist signs in the community should be rearranged in order not to destroy beautiful scenery; In terms of social development and quality of life, people should participate in prevention, rehabilitation, promotion of health, sanitation and sanitation. of beach environment; and in terms of development of infrastructure systems, there should improve the number of disaster prevention and mitigation systems.
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555