Search results

10 results in 0.13s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (พศ.ม) สาขารัฐประศาสนศาสตร์--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัตสำเนา, วิทยานิพนธ์ (พศ.ม) สาขารัฐประศาสนศาสตร์--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาหลักสัปปุริธรรม ๗ ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) เพื่อศึกษาหลักสัปปุริสธรรม ๗ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมตามหลักตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท โดยใช้วิธีวิจัยเอกสาร คือศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และตำราอื่นๆ ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า สัปปุริสธรรม เป็นธรรมของสัปปุริสชน คือ คนดี หรือคนที่แท้ ซึ่งมีความเป็นคนที่สมบูรณ์ และถือเป็นคุณธรรมที่สำคัญของการพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมที่สมบูรณ์ ๗ ประการ ได้แก่ การรู้จักเหตุ การรู้จักผล การรู้จักตน การรู้จักประมาณ การรู้จักเวลา การรู้จักชุมชน และการรู้จักบุคคล พฤติกรรม เป็นสิ่งที่บุคคลแสดงออกซึ่งสามารถสังเกตได้โดยตรง หรืออยู่ในกระบวนการทางจิตใจ ซึ่งได้แก่ ความคิด ความรู้สึก และแรงขับ ซึ่งเป็นประสบการณ์ของแต่ละบุคคลที่ไม่สามารถจะสังเกตได้โดยตรงพฤติกรรมของมนุษย์ที่เห็นได้ง่าย คือพฤติกรรมทางกายและวาจา เช่น การแสดงความเห็นแก่ตัว การทำจริตต่างๆ และการแสดงวาจาทุจริต เป็นต้น พฤติกรรมที่ไม่ดีเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เป็นการกระทำที่สุจริตและการแสดงวาจาที่สุจริตหรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่านิสัยชอบทำกรรมชั่วของคนเราจำเป็นต้องได้รับการเปลี่ยนแปลงแก้ไขให้มีนิสัยชอบทำ หลักสัปปุริสธรรม ๗ ในการพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ตามหลักพุทธศาสนาเถรวาท พบว่าเป็นข้อประพฤติปฏิบัติสำหรับควบคุมกายและวาจาให้ตั้งอยู่ในความดีงาม แบ่งเป็น ๗ ประการ ได้แก่ การรู้จักเหตุ การรู้จักผล การรู้จักตน การรู้จักประมาณ การรู้จักเวลา การรู้จักชุมชน และการรู้จักบุคคล จะสามารถควบคุมพฤติกรรมและพัฒนาทางร่างกาย และจิตใจของตนเองได้ ทำให้สังคมมนุษย์อยู่อย่างสงบสุข ภายใต้กฎระเบียบวินัย และกฎเกณฑ์ของสังคม นอกจากนี้ยังพัฒนาตนเองไปสู่ ความเป็นอริยบุคคล ๔ จำพวก คือ โสดาบันบุคคล อนาคามีบุคคล สกทาคามีบุคคล และพระอรหันต์ ได้ในที่สุดการพัฒนาชีวิตมนุษย์นั้นพุทธปรัชญาให้ความสำคัญทั้ง ๒ ปัจจัย คือ นามธรรม และกายภาพเพื่อพัฒนาชีวิตให้ไปสู่เป้าหมายสูงสุดของชีวิตทั้งในระดับโลกียะและโลกุตระ พุทธปรัชญาได้ให้ความสำคัญในการพัฒนาทั้ง ๒ ด้านไปพร้อมๆ กันในขณะเดียวกันก็เน้นมาทางด้านจิตใจ เพราะเชื่อว่าศักยภาพทางจิตใจเป็นตัวกำหนดกระบวนการของชีวิตให้ไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือ พระนิพาน
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ คือ ๑) เพื่อศึกษาหลักสัปปุริธรรม ๗ ตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) เพื่อศึกษาหลักสัปปุริสธรรม ๗ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมตามหลักตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท โดยใช้วิธีวิจัยเอกสาร คือศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และตำราอื่นๆ ประกอบ ผลการวิจัยพบว่า สัปปุริสธรรม เป็นธรรมของสัปปุริสชน คือ คนดี หรือคนที่แท้ ซึ่งมีความเป็นคนที่สมบูรณ์ และถือเป็นคุณธรรมที่สำคัญของการพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ในสังคมที่สมบูรณ์ ๗ ประการ ได้แก่ การรู้จักเหตุ การรู้จักผล การรู้จักตน การรู้จักประมาณ การรู้จักเวลา การรู้จักชุมชน และการรู้จักบุคคล พฤติกรรม เป็นสิ่งที่บุคคลแสดงออกซึ่งสามารถสังเกตได้โดยตรง หรืออยู่ในกระบวนการทางจิตใจ ซึ่งได้แก่ ความคิด ความรู้สึก และแรงขับ ซึ่งเป็นประสบการณ์ของแต่ละบุคคลที่ไม่สามารถจะสังเกตได้โดยตรงพฤติกรรมของมนุษย์ที่เห็นได้ง่าย คือพฤติกรรมทางกายและวาจา เช่น การแสดงความเห็นแก่ตัว การทำจริตต่างๆ และการแสดงวาจาทุจริต เป็นต้น พฤติกรรมที่ไม่ดีเหล่านี้จำเป็นต้องได้รับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้เป็นการกระทำที่สุจริตและการแสดงวาจาที่สุจริตหรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งว่านิสัยชอบทำกรรมชั่วของคนเราจำเป็นต้องได้รับการเปลี่ยนแปลงแก้ไขให้มีนิสัยชอบทำ หลักสัปปุริสธรรม ๗ ในการพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ตามหลักพุทธศาสนาเถรวาท พบว่าเป็นข้อประพฤติปฏิบัติสำหรับควบคุมกายและวาจาให้ตั้งอยู่ในความดีงาม แบ่งเป็น ๗ ประการ ได้แก่ การรู้จักเหตุ การรู้จักผล การรู้จักตน การรู้จักประมาณ การรู้จักเวลา การรู้จักชุมชน และการรู้จักบุคคล จะสามารถควบคุมพฤติกรรมและพัฒนาทางร่างกาย และจิตใจของตนเองได้ ทำให้สังคมมนุษย์อยู่อย่างสงบสุข ภายใต้กฎระเบียบวินัย และกฎเกณฑ์ของสังคม นอกจากนี้ยังพัฒนาตนเองไปสู่ ความเป็นอริยบุคคล ๔ จำพวก คือ โสดาบันบุคคล อนาคามีบุคคล สกทาคามีบุคคล และพระอรหันต์ ได้ในที่สุดการพัฒนาชีวิตมนุษย์นั้นพุทธปรัชญาให้ความสำคัญทั้ง ๒ ปัจจัย คือ นามธรรม และกายภาพเพื่อพัฒนาชีวิตให้ไปสู่เป้าหมายสูงสุดของชีวิตทั้งในระดับโลกียะและโลกุตระ พุทธปรัชญาได้ให้ความสำคัญในการพัฒนาทั้ง ๒ ด้านไปพร้อมๆ กันในขณะเดียวกันก็เน้นมาทางด้านจิตใจ เพราะเชื่อว่าศักยภาพทางจิตใจเป็นตัวกำหนดกระบวนการของชีวิตให้ไปสู่เป้าหมายสูงสุด คือ พระนิพาน
The purposes of the thesis were: 1) to study qualities of a good man, 2) to study develop human beings’ behavior, and 3) to study qualities of a good man for developing of human beings in society following Theravada Buddhist Philosophy. It has been carried out with qualitative research methodology, of which its sources include The Tipitaka, relevant researches and other texts to supplement it. The results of the research were found that: Sappurisadharma refers to the virtue of a saint, a good person or a person who is completely human. And it is the moral virtue of the development of human behavior in seven complete societies, namely, the recognition of the result of knowing one's self. Knowing time getting to know the community and recognition. Behavior refers to everything a person does that can be observed directly, or in a mental process, i.e., thoughts, feelings, and motives, which are the experiences of the individual who can not be observed directly. Human behavior that is easily seen is physical and verbal behavior, such as selfishness. Making a difference. These bad behaviors need to be altered to act in good faith and verbal expression. In other words, the bad habits of our people need to be changed. To have a habit of doing. The 7th principle of the development of human behavior in Theravada Buddhism. It is a practice for physical control and speech to be placed in goodness, divided into seven categories, namely, knowing the result, knowing the results, knowing oneself, knowing the approximation. Knowing time getting to know the community and recognition It can control behavior and develop physically. Their own minds. Human society is peaceful. Under disciplinary rules And social norms Finally, the development of human life, the philosophy of Buddhism, attaches importance to the two factors, namely, the abstraction and the physical, in order to develop the life to the goal (Nirvana).
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 จำแนกตาม ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารและครูผู้สอน จำนวน 341 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐานได้แก่ ค่า t-test, F-test และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า : 1. ระดับการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา รองลงมา ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านการจัดการแหล่งเรียนรู้ 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงานโดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3. แนวทางการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 สรุปได้ว่า ควรจัดทำหลักสูตรต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพของปัญหา เหมาะสมกับความต้องการของนักเรียนชุมชนและท้องถิ่นสอดรับกับหลักสูตรแกนกลางเน้นการวัดผลอย่างหลากหลายวิธีจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้และผลการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 จำแนกตาม ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารและครูผู้สอน จำนวน 341 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.98 และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมุติฐานได้แก่ ค่า t-test, F-test และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า : 1. ระดับการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการนิเทศภายในสถานศึกษา รองลงมา ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านการจัดการแหล่งเรียนรู้ 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 จำแนกตามตำแหน่ง ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงานโดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3. แนวทางการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการบริหารงานวิชาการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 2 สรุปได้ว่า ควรจัดทำหลักสูตรต้องปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาพของปัญหา เหมาะสมกับความต้องการของนักเรียนชุมชนและท้องถิ่นสอดรับกับหลักสูตรแกนกลางเน้นการวัดผลอย่างหลากหลายวิธีจัดตั้งศูนย์วิชาการเพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนความรู้และผลการวิจัย
The objectives of the research were 1) to study participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma under the Roi Et Primary Education Service Area Office 2., 2) to compare participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma of schools in mention classified by positions, educational level and working experiences and, 3) to find out the guidelines for participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma of the said schools. Samples were the administrators and teachers, totally 341 in number and 5 interviews. The research instrument for collecting the data was the questionnaire, with its reliability value at 0.98 and quality-verified interview. The data collected were analyzed by the computer program, and the statistical devices composed of Frequency, percentage, mean, standard deviation. The hypothesis was tested with t-test, F-test and content analysis. The research results were as follows: 1. The level of Participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma under the Roi-Et Primary education service area office 2 was overall at a high level. The aspect with the highest average was Supervision in educational institutions, followed by the preparation of educational institutions’ curriculum. The side with the lowest mean was learning resource management. 2. The results of the comparison of the level of opinion towards the Participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma under the Roi-Et Primary education service area office 2, classified by position, education level and work experience by overall and each aspect were no difference. 3. Guidelines of Participation of personnel in academic administration based on 7 Principles of Sappurisadhamma under the Roi-Et Primary education service area office 2. It can be concluded that the curriculum should be developed in accordance with the condition of the problems, appropriate to the needs of students, community and local, aligned with core curriculum, focus on measuring results in a variety of ways, established an academic center for disseminating and exchanging knowledge and research results.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขาวิชาสังคมวิทยา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม)รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559