Search results

4 results in 0.08s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาหลักการดำเนินชีวิต 2) เพื่อศึกษาหลักทิศ 6 ในพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตตามหลักทิศ 6 ในพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎกตำราวิชาการ ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความที่เกี่ยวกับแนวคิดเรื่องการดำเนินชีวิต แนวปฏิบัติที่มีความสัมพันธ์กันในเรื่องของหน้าที่ของมนุษย์ ในแนวพุทธปรัชญาเถรวาท แล้วนำมาวิเคราะห์และสรุปผลการวิจัยนำเสนอเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า 1. ชีวิตมนุษย์ เป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาสิ่งต่าง ๆ ต้องทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เพราะในปัจจุบันนี้มีปัจจัยหลายอย่างที่เข้ามากระทบต่อการดำเนินชีวิต การดำเนินชีวิตไม่ว่าแบบใดหากขาดความตระหนักในหน้าที่บทบาทความรับผิดชอบมนุษย์จะปราศจากคุณค่าทันที มนุษย์จะมีชีวิตที่ผาสุขได้ควรมีหลักยึดเหนี่ยวจิตใจในการดำเนินชีวิตไม่ข้องเกี่ยวกับอบายมุข ให้ความสำคัญกับหน้าที่ของตนเองและปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความเข้าใจรู้ในหน้าที่บทบาทความสัมพันธ์ของคนรอบข้างเป็นสำคัญ 2. หลักทิศ 6 เป็นหลักธรรมที่ บุคคลจะพึงทำหน้าที่ต่อกันด้วยหน้าที่ที่บริสุทธิ์ที่มนุษย์พึงปฏิบัติต่อสังคม ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่สามารถส่งเสริมการดำเนินชีวิตของมนุษย์ให้ดีงาม ทั้งในส่วนปัจเจกและส่วนรวม ช่วยให้ปัจเจกบุคคล สามารถดำเนินชีวิตส่วนตัวได้อย่างมีความสุข และสังคมส่วนรวมก็ดำรงอยู่อย่างปกติสุขด้วยอันมีหน้าที่ 6 ประเภทได้แก่ 1.ทิศเบื้องหน้า บิดามารดา 2. ทิศเบื้องขวา ครูอาจารย์ 3. ทิศเบื้องหลัง ภรรยา 4. ทิศเบื้องซ้าย มิตรอำมาตย์ 5. ทิศเบื้องล่าง ลูกจ้าง ทาส กรรมกร 6. ทิศเบื้องบน สมณะพราหมณ์ 3.การดำเนินชีวิตตามหลักทิศ 6 เป็นวิธีการส่งเสริมต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ถูกต้อง อันมนุษย์พึงปฏิบัติต่อกัน ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ทำให้คุณภาพชีวิต และสภาพของสังคม ที่แวดล้อมตัวเราดีขึ้น เพราะทุกคนรู้หน้าที่และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่จะพึงปฏิบัติต่อผู้อื่น ที่ตนเกี่ยวข้องด้วย การดำเนินชีวิตเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยึ่ง ที่จะต้องดำเนินไปให้มีคุณภาพ อาศัยองค์ประกอบของชีวิต ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาชีวิตให้มีคุณค่า และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาหลักการดำเนินชีวิต 2) เพื่อศึกษาหลักทิศ 6 ในพุทธปรัชญาเถรวาท 3) เพื่อวิเคราะห์การดำเนินชีวิตตามหลักทิศ 6 ในพุทธปรัชญาเถรวาท วิทยานิพนธ์นี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎกตำราวิชาการ ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความที่เกี่ยวกับแนวคิดเรื่องการดำเนินชีวิต แนวปฏิบัติที่มีความสัมพันธ์กันในเรื่องของหน้าที่ของมนุษย์ ในแนวพุทธปรัชญาเถรวาท แล้วนำมาวิเคราะห์และสรุปผลการวิจัยนำเสนอเชิงพรรณนา ผลจากการวิจัยพบว่า 1. ชีวิตมนุษย์ เป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาสิ่งต่าง ๆ ต้องทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม เพราะในปัจจุบันนี้มีปัจจัยหลายอย่างที่เข้ามากระทบต่อการดำเนินชีวิต การดำเนินชีวิตไม่ว่าแบบใดหากขาดความตระหนักในหน้าที่บทบาทความรับผิดชอบมนุษย์จะปราศจากคุณค่าทันที มนุษย์จะมีชีวิตที่ผาสุขได้ควรมีหลักยึดเหนี่ยวจิตใจในการดำเนินชีวิตไม่ข้องเกี่ยวกับอบายมุข ให้ความสำคัญกับหน้าที่ของตนเองและปฏิบัติต่อผู้อื่นด้วยความเข้าใจรู้ในหน้าที่บทบาทความสัมพันธ์ของคนรอบข้างเป็นสำคัญ 2. หลักทิศ 6 เป็นหลักธรรมที่ บุคคลจะพึงทำหน้าที่ต่อกันด้วยหน้าที่ที่บริสุทธิ์ที่มนุษย์พึงปฏิบัติต่อสังคม ซึ่งเป็นแนวปฏิบัติที่สามารถส่งเสริมการดำเนินชีวิตของมนุษย์ให้ดีงาม ทั้งในส่วนปัจเจกและส่วนรวม ช่วยให้ปัจเจกบุคคล สามารถดำเนินชีวิตส่วนตัวได้อย่างมีความสุข และสังคมส่วนรวมก็ดำรงอยู่อย่างปกติสุขด้วยอันมีหน้าที่ 6 ประเภทได้แก่ 1.ทิศเบื้องหน้า บิดามารดา 2. ทิศเบื้องขวา ครูอาจารย์ 3. ทิศเบื้องหลัง ภรรยา 4. ทิศเบื้องซ้าย มิตรอำมาตย์ 5. ทิศเบื้องล่าง ลูกจ้าง ทาส กรรมกร 6. ทิศเบื้องบน สมณะพราหมณ์ 3.การดำเนินชีวิตตามหลักทิศ 6 เป็นวิธีการส่งเสริมต่อการปฏิบัติหน้าที่ ที่ถูกต้อง อันมนุษย์พึงปฏิบัติต่อกัน ในการดำเนินชีวิตประจำวัน ทำให้คุณภาพชีวิต และสภาพของสังคม ที่แวดล้อมตัวเราดีขึ้น เพราะทุกคนรู้หน้าที่และมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่จะพึงปฏิบัติต่อผู้อื่น ที่ตนเกี่ยวข้องด้วย การดำเนินชีวิตเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยึ่ง ที่จะต้องดำเนินไปให้มีคุณภาพ อาศัยองค์ประกอบของชีวิต ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งต่อการพัฒนาชีวิตให้มีคุณค่า และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข
The objectives of this thesis were as follows: 1) to study the principles of living, 2) to study the 6 Directions in Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze the lifestyle according to the 6 Directions in Theravada Buddhist philosophy. The data of this qualitative research were collected from the Tipitaka, textbooks, research works, theses, and articles on the concept of living and interrelated practice of human duty in the concept of Theravada Buddhist philosophy.The data were analyzed, summarized and presented in a descriptive method. The study results were found that: 1) Human life is an essential element in development in every dimension in order to cope with the changes in society. Living a life without duty and responsibility concentration can become worthless. Humans can live a happy life by not in connection with causes of ruin. At the same time, they have to realize their own duty and treat the others suitable to their roles and relations. 2) The 6 Directions in Theravada Buddhist philosophy are the principles that individuals should practice to promote a good human life individually and socially. These principles help make individuals live a happy life and make society establish calmly and normally. The 6 Directions are 6 types of duty; 1. The direction in front refers to duty of parents and children, 2. The direction in the right refers to duty of teachers and students, 3. The direction behind refers to a husband and a wife, 4. The direction in the left refers to the duty of friends and associates, 5. The direction below refers to the duty of workmen and masters, and 6. The upper direction refers to the duty of monks and lay-people. 3) Living a lifestyle according to the 6 Directions is the way to promote the practice of the right duty that humans should treat one another. In daily life, these principles can help improve life quality, social conditions and environments because everyone understands and follows one’s own duty and responsibility. It is necessary to live a life with quality and value for the happiness and peacefulness of oneself and society.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) พุทธศาสนาและปรัชญา-มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556