Search results

3 results in 0.07s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และตำแหน่ง แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุน การคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ดกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 234 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.80-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .89 ผลการวิจัยพบว่า: 1. ผลการศึกษาระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการเผยแพร่พระพุทธศาสนา (อปายโกศล), ด้านการสาธารณูปการ (อายโกศล) รองลงมา ด้านการสาธารณสงเคราะห์ (อุปายโกศล) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านการศาสนศึกษา (อายโกศล) 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกเพศ ตามระดับการศึกษา และอายุ ไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ที่สำคัญ ได้แก่ ควรมีการดูแล คุ้มครอง บริหาร ความสำคัญ การปกครองคณะสงฆ์ไทยให้เป็นไปตามการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ควรดำเนินการสอดส่อง ดูแล รักษาความเรียบร้อยดีงาม เพื่อให้พระภิกษุสามเณรที่อยู่ในวัดหรือในปกครองปฏิบัติตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศของมหาเถรสมาคม
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และตำแหน่ง แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุน การคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ดกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 234 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.80-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .89 ผลการวิจัยพบว่า: 1. ผลการศึกษาระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการเผยแพร่พระพุทธศาสนา (อปายโกศล), ด้านการสาธารณูปการ (อายโกศล) รองลงมา ด้านการสาธารณสงเคราะห์ (อุปายโกศล) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านการศาสนศึกษา (อายโกศล) 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกเพศ ตามระดับการศึกษา และอายุ ไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ที่สำคัญ ได้แก่ ควรมีการดูแล คุ้มครอง บริหาร ความสำคัญ การปกครองคณะสงฆ์ไทยให้เป็นไปตามการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ควรดำเนินการสอดส่อง ดูแล รักษาความเรียบร้อยดีงาม เพื่อให้พระภิกษุสามเณรที่อยู่ในวัดหรือในปกครองปฏิบัติตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศของมหาเถรสมาคม
The purposes of this study were to 1) study the Three principles of Kosala application level of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province 2) compare the Three principles of Kosala application level of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province, classified by age, education level, and different position 3) Application guidelines suggestions for the Three principles of Kosala application of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province. The sample consisted of 234 personnel at Selaphum District, Roi Et Province. The instrument used for data collection was a 5- level estimation scale questionnaire with content accuracy of 0.80 – 1.00, and confidence of .89. The results showed that 1.The studying results of the Three principles of Kosala application level of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province: overall, was in a high level. When considering in each aspect sorted from the highest to the lowest were Buddhism, public utility, followed by public welfare, and the lowest was religious studies. 2.The Opinion level comparison results of the Three principles of Kosala application level of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province, classified by gender, education level, and age were not different. 3. The importance of suggestions for application guidelines of the Three principles of Kosala application level of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province were care, protection, management, and focus on the important of Thai Sangha government to be in accordance with the democratic regime. should be monitored and maintained to be tidy in order for priests and novices who were in the temple or under the rule of law to behave the disciplines, laws, rules, orders, announcements of the Supreme Sangha Council.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้แก่ ประชาคมในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 5,656 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 374 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาคมมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล ส่วนด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้าน การมีส่วนร่วมในการเสนอปัญหา มีความถี่มากที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเสนอปัญหาแผนงานหรือโครงการด้านการพัฒนาสาธารณูปโภค เช่น ถนนและไฟฟ้า เป็นต้นเพียงใด รองลงมา ด้าน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ คือ ท่านมีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจและกำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 2) เพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมของประขาคมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ได้แก่ ประชาคมในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม จำนวน 5,656 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของทาโร ยามาเน่ (Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 374 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า (One–Way ANOVA or F–test) และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีการ (Least Significant Difference) LSD. ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาคมมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า การมีส่วนร่วมในการดำเนินการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือ การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล ส่วนด้านการมีส่วนร่วมรับผลประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือน พบว่า โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ผลการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ของประชาคม ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาคมในการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม โดยเรียงลำดับตามความถี่จากมากไปหาน้อย พบว่า ด้าน การมีส่วนร่วมในการเสนอปัญหา มีความถี่มากที่สุด คือ ท่านมีส่วนร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการเสนอปัญหาแผนงานหรือโครงการด้านการพัฒนาสาธารณูปโภค เช่น ถนนและไฟฟ้า เป็นต้นเพียงใด รองลงมา ด้าน การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ คือ ท่านมีส่วนร่วมในการคิดตัดสินใจและกำหนดแนวทางพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของท้องถิ่น
This thesis has the following objectives: 1) to study the community participation in the local development plan in Sam Phran District 2) to compare the participation of local people in the development of local development plans in Sampran district Nakhon Pathom province of the community that has different gender, age, education level, status and monthly income. 3) To suggest the participation of the community in formulating the local development plan in Sampran district. Nakhon Pathom province, namely Parachakham in Sam Phran district Nakhon Pathom Province, amount 5,656 people. Determine the size of the samples using the formula of Taro. Yamane received a sample of 385 people. The tools used to collect data were questionnaires. Closed-end and open-ended type Data analysis was done by using a computer program. Statistics for data analysis LSD, frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-Way ANOVA or F-test and the Least Significant Difference LSD. The findings were as follows; 1) The community participates in the development of the local administrative organization development plan. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province, in all 5 areas, at the highest level When looking at each aspect, sorted in descending average order, it was found that the participation of There was the highest average, followed by participation in monitoring and evaluation. As for participation, receiving benefits Have the lowest mean respectively When classified by sex, age, educational level, occupation status and monthly income, overall was the highest. 2) The results of comparison of participation in the development plan of the local government organization. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province of the community with different sex, age, education level, occupation status and monthly income were found to be statistically significant difference at 0.05 level. 3) Suggestions on guidelines for promoting community participation in the development of the local administrative organization development plan. In the district of Sam Phran Nakhon Pathom Province The results were found in descending order of frequency. How often are you involved with the local government organization in proposing problems, plans or projects in the area of utility development such as roads and electricity, etc. Make decisions and formulate development solutions to address local problems.
eBook