Search results

2 results in 0.06s

หนังสือ

    การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักเรียนด้วยแนวคิด Teach Less, Learn More ในโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม โดยระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีผู้ร่วมวิจัยด้วยความสมัครใจ จำนวน 20 คน ดำเนินการ 2 ภาคเรียน ในปีการศึกษา 2563 โดยคาดหวังผลจากการพัฒนา 3 ประการ คือ (1) เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติของครู การจัดกิจกรรมการสอนของครู และคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (2) เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติในตัวผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียน และ (3) เกิดองค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานรากในบริบทเฉพาะของโรงเรียนแห่งนี้ ปรากฏผลการวิจัยดังนี้ 1) ค่าเฉลี่ยแสดงระดับการปฏิบัติของครู ระดับการจัดกิจกรรมการสอนของครู และระดับคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน หลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และหลังวงจรที่ 2 สูงขึ้นจากก่อนการปฏิบัติ 2) หลังจากใช้หลักการทำงานแบบมีส่วนร่วม ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียนต่างเกิดการเรียนรู้ถึงความสำคัญและประโยชน์ของการทำงานร่วมกันแบบเป็นทีม 3) องค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในงานวิจัยนี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น แนวคิดและกลยุทธ์ที่นำมาใช้เป็นพลังขับเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และการเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละประเด็นที่สามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนตามแนวคิด Teach Less, Learn More อย่างต่อเนื่องต่อไป หรือนำไปประยุกต์ใช้กับการพัฒนาตามแนวคิดใหม่อื่น ๆ
การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักเรียนด้วยแนวคิด Teach Less, Learn More ในโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม โดยระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีผู้ร่วมวิจัยด้วยความสมัครใจ จำนวน 20 คน ดำเนินการ 2 ภาคเรียน ในปีการศึกษา 2563 โดยคาดหวังผลจากการพัฒนา 3 ประการ คือ (1) เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นตามตัวบ่งชี้ที่กำหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติของครู การจัดกิจกรรมการสอนของครู และคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน (2) เกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติในตัวผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียน และ (3) เกิดองค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในลักษณะเป็นทฤษฎีฐานรากในบริบทเฉพาะของโรงเรียนแห่งนี้ ปรากฏผลการวิจัยดังนี้ 1) ค่าเฉลี่ยแสดงระดับการปฏิบัติของครู ระดับการจัดกิจกรรมการสอนของครู และระดับคุณลักษณะที่เกิดขึ้นกับนักเรียน หลังการปฏิบัติวงจรที่ 1 และหลังวงจรที่ 2 สูงขึ้นจากก่อนการปฏิบัติ 2) หลังจากใช้หลักการทำงานแบบมีส่วนร่วม ผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และครูทั้งโรงเรียนต่างเกิดการเรียนรู้ถึงความสำคัญและประโยชน์ของการทำงานร่วมกันแบบเป็นทีม 3) องค์ความรู้ที่ได้รับจากการปฏิบัติในงานวิจัยนี้ คือ ตัวบ่งชี้ที่แสดงถึงผลลัพธ์ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น แนวคิดและกลยุทธ์ที่นำมาใช้เป็นพลังขับเพื่อก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง สิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และการเอาชนะสิ่งต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีรายละเอียดของแต่ละประเด็นที่สามารถนำไปใช้เป็นต้นแบบเพื่อการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนตามแนวคิด Teach Less, Learn More อย่างต่อเนื่องต่อไป หรือนำไปประยุกต์ใช้กับการพัฒนาตามแนวคิดใหม่อื่น ๆ
This research aimed to improve the quality of students in Srikranuan wittayakom School using the concept of Teach Less, Learn More. The method used in this study was Participatory Action Research, and there were twenty teachers voluntarily participating. The study had been done in two semesters of the academic year 2020. The three expectations from the development outcomes were: (1) the improvement under the identified indicators: a) teacher performance, b) organizing teaching activities and c) the students characteristic, (2) the researcher, the research participants, and the entire teaching staff learned from practice, and (3) the body of knowledge, which had been obtained from the practice as a foundation theory in this school context. The results of the study revealed three key features. Firstly, the average means of teacher performance, organization of teaching activities, and student characteristics after the 1st and after the 2nd cycles were higher than before the operation. Secondly, after adopting a participatory approach, researchers, co-researchers, and the entire teaching staff learned the importance and benefits of team collaboration. Lastly, the knowledge gained from the practice of this research consists of the ideas and strategies of the following concepts: 1) Expected change, 2) Driving factors for change, 3) Resistance to change and 4) Overcoming resistance drive change. The details of each issue can be used as a model for the students' quality development according to the concept of Teach Less, Learn More continuously. Moreover, the concept can be applied to other new conceptual developments.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทนำ
  • การพัฒนานิสิตนักศึกษา
  • หลักสูตรและการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา
  • การบริหารอุดมศึกษา
  • ครุศึกษา
  • อุดมศึกษากับการเปลี่ยนผ่านสู่โลกอนาคต
  • การอุดมศึกษาเชิงประจักษ์สู่ยุคดิจิทัล