Search results

21 results in 0.11s

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • Trust culture and the ethics of honesty of public servant
  • Orgaizational culture of Thai local government organizations: Key cultural characteristic and determinant factors on cultural-fit
  • ความเบี่ยงเบนทางวัฒนธรรมขององค์การ: ศึกษากรณี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย
  • วัฒนธรรมการดำเนินชีวิตแบบฮุกกะของพลเมืองเดนมาร์ก กับนโยบายรัฐสวัสดิการในประเทศเดนมาร์ก
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • วิวัฒนาการของพฤติกรรมองค์การและการพัฒนาองค์การ
  • ความแตกต่างระหว่างบุคคล
  • พฤติกรรมกลุ่ม
  • ทัศนคติ การรับรู้และการเรียนรู้
  • ภาวะผู้นำในองค์การ
  • การตัดสินใจทางการบริหาร
  • การจัดการความขัดแย้งในองค์การ
  • การติดต่อสื่อสารในองค์การ
  • อำนาจและการเมืองในองค์การ
  • โครงสร้างองค์การและวัฒนธรรมองค์การ
  • การเปลี่ยนแปลงองค์การ
  • เทคนิคการพัฒนาองค์การ
  • แนวโน้มพฤติกรรมองค์การและการพัฒนาองค์การในอนาคต
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ภาพรวมของทฤษฎีเกี่ยวกับองค์การ
  • มิติเชิงโครงสร้าง (CFC)
  • ปัจจัยที่กำหนดโครงสร้างขององค์การ
  • รูปแบบโครงสร้างองค์การ
  • การเปลี่ยนผ่านจากองค์การแบบเก่าสู่องค์การแบบใหม่
  • แนวความคิดในการวิเคราะห์องค์การ
  • สามมุมมองในการวิเคราะห์องค์การเชิงปฏิบัติการ
  • การสร้างทีมงาน
  • การบริหารความเปลี่ยนแปลง
  • การจัดการความหลากหลาย
  • การจัดการความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
  • การบริหารผลการดำเนินงาน
  • การจัดการทรัพยากรมนุษย์และภาวะผู้นำองค์การ
  • กระแสโลกาภิวัตน์ กับ จริยธรรมทางการบริหาร
  • หลักการบริหารจัดการองค์การอย่างยั่งยืน
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความเหมาะสมของตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้าง 2) เพื่อทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับพฤติกรรมตัวบ่งชี้ของแต่ละตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับตัวบ่งชี้ของแต่ละองค์ประกอบย่อย และโมเดลในระดับองค์ประกอบย่อยของวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง 3) เพื่อระบุองค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง และ 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้มาตรประเมินค่า 5 ระดับ ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.96 จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 640 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1.ตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบย่อย 12 ตัวบ่งชี้ และ 48 พฤติกรรมตัวบ่งชี้ จำแนกได้ดังนี้ องค์ประกอบย่อยของการคิดสร้างสรรค์ มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การคิดแก้ปัญหา 2) มีจินตนาการ 3) มีความคิดเชื่อมโยง องค์ประกอบย่อยของธรรมาภิบาล มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ความโปร่งใส 2) ความรับผิดชอบ 3) การมีส่วนร่วม องค์ประกอบย่อยของการทำงานเป็นทีม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) รับผิดชอบร่วมกัน 2) มีเป้าหมายเดียวกัน 3) มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน องค์ประกอบย่อยของนวัตกรรม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลง 2) การคิดค้น 3) การทดลอง โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยที่เหมาะสมตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 2.โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าไค-สแควร์ (2 ) เท่ากับ 82.18 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 42 ("χ" ^"2" /df =1.95) และค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.98 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.96 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.039 3.องค์ประกอบย่อยมีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้มีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมบ่งชี้ 4.นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มาบูรณาการเข้ากับศาสตร์สมัยไหม่ พร้อมกับยึดคติพจน์ของมหาวิทยาลัย คือ ระเบียบ สามัคคี บำเพ็ญประโยชน์ มาเป็นกรอบในการพัฒนา
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความเหมาะสมของตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เพื่อคัดสรรกำหนดไว้ในโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้าง 2) เพื่อทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับพฤติกรรมตัวบ่งชี้ของแต่ละตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และทดสอบความสอดคล้องของโมเดลในระดับตัวบ่งชี้ของแต่ละองค์ประกอบย่อย และโมเดลในระดับองค์ประกอบย่อยของวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยกับข้อมูลเชิงประจักษ์ด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับที่สอง 3) เพื่อระบุองค์ประกอบย่อย ตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้ที่มีค่าความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง และ 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เก็บข้อมูลโดยใช้มาตรประเมินค่า 5 ระดับ ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.96 จากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย จำนวน 640 คน ที่ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1.ตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบย่อย 12 ตัวบ่งชี้ และ 48 พฤติกรรมตัวบ่งชี้ จำแนกได้ดังนี้ องค์ประกอบย่อยของการคิดสร้างสรรค์ มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การคิดแก้ปัญหา 2) มีจินตนาการ 3) มีความคิดเชื่อมโยง องค์ประกอบย่อยของธรรมาภิบาล มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ความโปร่งใส 2) ความรับผิดชอบ 3) การมีส่วนร่วม องค์ประกอบย่อยของการทำงานเป็นทีม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) รับผิดชอบร่วมกัน 2) มีเป้าหมายเดียวกัน 3) มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน องค์ประกอบย่อยของนวัตกรรม มี 3 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลง 2) การคิดค้น 3) การทดลอง โมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างตัวบ่งชี้วัฒนธรรมองค์การสำหรับบุคลากรสังกัดมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยที่เหมาะสมตามเกณฑ์ที่กําหนดไว้ คือ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับหรือสูงกว่า 3.00 2.โมเดลมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าไค-สแควร์ (2 ) เท่ากับ 82.18 ค่าองศาอิสระ (df) เท่ากับ 42 ("χ" ^"2" /df =1.95) และค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.98 มีค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้องที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.96 และค่าความคลาดเคลื่อนในการประมาณค่าพารามิเตอร์ (RMSEA) เท่ากับ 0.039 3.องค์ประกอบย่อยมีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.50 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมตัวบ่งชี้มีค่านํ้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานสูงกว่าเกณฑ์ 0.30 ทุกตัวบ่งชี้และพฤติกรรมบ่งชี้ 4.นำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มาบูรณาการเข้ากับศาสตร์สมัยไหม่ พร้อมกับยึดคติพจน์ของมหาวิทยาลัย คือ ระเบียบ สามัคคี บำเพ็ญประโยชน์ มาเป็นกรอบในการพัฒนา
The objectives of this research were as follows: 1) to study the appropriate level of Indicators of organizational culture for personnel under Mahamakut Buddhist University for selecting as structural relationship model, 2) to test the congruence of developed model, and empirical data as specified criterion, 3) to indicate the minor factor, indicator and behavioral indicator having structural accuracy, and 4) to study the guidelines for the development of organizational culture for personnel under Mahamakut Buddhist University. The mixed research methodology was used in the study. The data were collected by 5-level rating scale questionnaire with reliability coefficient 0.96 from 640 samples under Mahamakut Buddhist University obtained by stratified random sampling. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation (SD), and confirmatory factor analysis by instant statistical software. The research findings were as follows 1.The indicators of organizational culture for personnel under Mahamakut Buddhist University consisted of 4 minor factors, 12 indicators, and 48 behavioral indicators. The minor factors of creative thinking had 3 indicators; 1) problem solving, 2) imagination, and 3) linking idea. The minor factors of good governance had 3 indicators; 1) transparency, 2) responsibility, and 3) collaboration. The minor factors of teamwork had 3 indicators; 1) co-responsibility, 2) unity target, and 3) interaction. The minor factors of innovation had 3 indicators; 1) transformation, 2) invention, and 3) experiment. The average value and distribution coefficient for selecting the structural model of organizational culture indicators for personnel under Mahamakut Buddhist University was equal to or more than 3.00. 2. The elements of the model were consistent with empirical data with the Chi - Square ("χ" ^"2" ) value equaled to 82.18, the degrees of freedom (df) equaled to 42 ("χ" ^"2" /df =1.95), the goodness of fit index (GFI) was 0.98, the adjusted goodness of fit index (AGFI) was 0.96, and the Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA) was 0.039. 3.The minor factor had factor loading higher than 0.50 in very indicator. The behavioral factor had factor loading in higher level than the criterion at 0.30 in every indicator and behavioral indicator. 4.The application of Buddhist principles to integrate with modern science and also adhering to the university motto, namely regulations, unity, rendering services.
หนังสือ

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • วิกฤติ
  • ความรู้ KM
  • กระบวนคิด SWOT
  • กระบวนคิดสร้างการจัดการนวัตกรรมเพื่อเพิ่ทศักยภาพ
  • Systematic
  • Process
  • Network
  • Parners
  • Innovations
  • Social Media
  • CSR
  • การเพิ่มศักยภาพเชิงพลวัต
  • ผู้นำยุคดิจิตอล
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบทัศนคติที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฏร์ธานี ของประชาชน ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาปัญหาข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไขของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประชากร ได้แก่ ประชาชนในตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานีจำนวน 9,410 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 368 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า F - test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีทัศนคติต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการเมืองการปกครอง มีค่าเฉลี่ยมากสุด รองลงมาคือ ด้านการศึกษา ส่วนด้านเศรษฐกิจ มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบระดับทัศนคติที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ของประชาชน ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา ต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ส่วนอาชีพ ต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาข้อเสนอแนะ ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปัญหา ได้แก่ การจัดกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนให้สมาชิกในสังคมมีการ รวมกลุ่มในรูปกลุ่มอาชีพไม่ดีเท่าที่ควร การส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้าง สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตมีไม่มากนัก แนวทางแก้ไขทัศนคติของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมให้สมาชิกในสังคมได้รับการศึกษายังให้ทั่งถึง ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมให้สมาชิกในสังคมรู้จักใช้ความรู้ใน การรักษาสุขภาพอนามัยให้แข็งแรง
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาทัศนคติของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบทัศนคติที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฏร์ธานี ของประชาชน ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ต่างกัน 3) เพื่อศึกษาปัญหาข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไขของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ประชากร ได้แก่ ประชาชนในตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานีจำนวน 9,410 คน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตาราง Krejcie และ Morgan ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 368 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม แบบปลายปิดและแบบปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t - test ค่า F - test และทดสอบค่าคะแนนเฉลี่ยรายคู่ โดยวิธี LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) ประชาชนมีทัศนคติต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านการเมืองการปกครอง มีค่าเฉลี่ยมากสุด รองลงมาคือ ด้านการศึกษา ส่วนด้านเศรษฐกิจ มีค่าเฉลี่ยน้อยสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบระดับทัศนคติที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ของประชาชน ที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา ต่างกัน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ส่วนอาชีพ ต่างกัน พบว่า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับปัญหาข้อเสนอแนะ ทัศนคติของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปัญหา ได้แก่ การจัดกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนให้สมาชิกในสังคมมีการ รวมกลุ่มในรูปกลุ่มอาชีพไม่ดีเท่าที่ควร การส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้าง สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตมีไม่มากนัก แนวทางแก้ไขทัศนคติของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานด้านการพัฒนาสังคมขององค์การบริหารส่วนตำบลสินเจริญ อำเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้แก่ ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมให้สมาชิกในสังคมได้รับการศึกษายังให้ทั่งถึง ควรจัดกิจกรรมส่งเสริมให้สมาชิกในสังคมรู้จักใช้ความรู้ใน การรักษาสุขภาพอนามัยให้แข็งแรง
The objectives of this thematic paper were as follows : 1) To study the attitude of people towards work performance on social development of Sinjaroen sub district administrative organization, Phrasang district, Surat Thani province. 2) To compare the attitude of people towards work performance on social development of Sinjaroen sub district administrative organization, Phrasang district, Surat Thani province in terms of sexes, ages, degrees of education, occupations and monthly incomes as differently. 3) To study the suggestion to promote the attitude of people towards work performance on social development of Sinjaroen sub district administrative organization, Phrasang district, Surat Thani province. The population were composed of people in Sinjaroen sub district administrative organization, Phrasang district, Surat Thani province totally 9,410 persons, sample size according to the table of R.V. Krejcie and D.W.Morgan, got the sample at the number of 368 persons, the instrument for data collection was questionnaire both closed and open ended question, The statistics were analyzed as follows, frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t–test and F-test and LSD method. The results reveal that 1)The attitude of people towards work performance on social development of Sinjaroen sub district administrative organization, Phrasang district, Surat Thani province by overviews in five aspects are at high level, while consider in each aspects from more to less find that the aspect of politics and ruling is the highest mean and follow up the aspect of education and the aspect of economic is lowest mean respectively. 2)The comparative result of The attitude of people towards work performance on social development of Sinjaroen sub district administrative organization, Phrasang district, Surat Thani province in terms of sexes, ages and degrees of education find that there are different as statistically significance at .001. but in term of and occupations find that there are not different as statistically significance at .001. 3)The suggestion on promote in The attitude of people towards work performance on social development of Sinjaroen sub district administrative organization, Phrasang district, Surat Thani province, the problems find that not suitable of occupation encourage of members, less of infra structure development and public basic need. The resolution find that there should encourage on education as coverage and promote on healthy.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบรรยากาศองค์การของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 2) ศึกษาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี และ 3) ศึกษาบรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีจำนวน 286 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า เกี่ยวกับบรรยากาศองค์การและความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .925 และ .933 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. บรรยากาศองค์การของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับดีทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านความท้าทายและความรับผิดชอบ ด้านโครงสร้างองค์การ ด้านการปฏิบัติงานและความคาดหวัง ด้านความเสี่ยงในงาน ด้านการให้รางวัลและการลงโทษ ด้านความขัดแย้ง ด้านความผูกพันต่อองค์การ ด้านความอบอุ่น และด้านการสนับสนุน 2. ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุดคือ ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ด้านการมีแบบแผนความคิด และด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 3. บรรยากาศองค์การส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีเรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความขัดแย้ง (TC) ด้านความเสี่ยงในงาน (RI) ด้านความผูกพันต่อองค์การ (OI) และด้านโครงสร้างองค์การ (ST) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 56.30 (R2 = 0.563) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂= 0.904 + 0.323 (TC) + 0.272 (RI) + 0.118 (OI) + 0.1 (ST) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 0.355 (ZTC) + 0.318 (ZRI) + 0.131 (ZOI) + 0.097 (ZST)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบรรยากาศองค์การของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 2) ศึกษาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี และ 3) ศึกษาบรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีจำนวน 286 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า เกี่ยวกับบรรยากาศองค์การและความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .925 และ .933 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. บรรยากาศองค์การของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับดีทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านความท้าทายและความรับผิดชอบ ด้านโครงสร้างองค์การ ด้านการปฏิบัติงานและความคาดหวัง ด้านความเสี่ยงในงาน ด้านการให้รางวัลและการลงโทษ ด้านความขัดแย้ง ด้านความผูกพันต่อองค์การ ด้านความอบอุ่น และด้านการสนับสนุน 2. ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุดคือ ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ด้านการมีแบบแผนความคิด และด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 3. บรรยากาศองค์การส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีเรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความขัดแย้ง (TC) ด้านความเสี่ยงในงาน (RI) ด้านความผูกพันต่อองค์การ (OI) และด้านโครงสร้างองค์การ (ST) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 56.30 (R2 = 0.563) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂= 0.904 + 0.323 (TC) + 0.272 (RI) + 0.118 (OI) + 0.1 (ST) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 0.355 (ZTC) + 0.318 (ZRI) + 0.131 (ZOI) + 0.097 (ZST)
The objectives of this research were: 1) to study organizational climate of Bangkok Thonburi University, 2) to study learning organization of Bangkok Thonburi University, and 3) to study organizational climate affecting learning organization of Bangkok Thonburi University. The data of this predictive research were collected by questionnaires about the organizational climate and the learning organization with reliability at .925 and .933 from 286 personnel of Bangkok Thonburi University. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson Product Moment Correlation Coefficient, and stepwise Multiple Regression Analysis. The results of the search were found that: 1. The organizational climate of Bangkok Thonburi University was at a good level overall and in aspects. The highest level was on challenge and responsibility, followed by organizational structure, performance standards and expectation, task risk, reward and punishment, conflicts, organizational identity, warmth, and support respectively. 2. The learning organization of Bangkok Thonburi University was at a high level overall and in aspects. The highest level was on systematic thinking, followed by perspnal mastery, building shared vision, mental models, and team learning respectively. 3. The organizational climate affected the learning organization of Bangkok Thonburi University, starting from Tolerance Conflicts (TC), and then Task Risk (RI), Organizational Identity (OI), and Organizational Structure (ST) with coefficient and predictive value at 56.30 % (R2 = 0.563) with a significantly statistic figure at .01. It could be written in a predictive equation as follows: Raw score: Y ̂= 0.904 + 0.323 (TC) + 0.272 (RI) + 0.118 (OI) + 0.1 (ST) Standard score: Z ̂y = 0.355 (ZTC) + 0.318 (ZRI) + 0.131 (ZOI) + 0.097 (ZST)
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการองค์กร 2. เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการองค์กรของบริษัทเอสซีจี และ 3. เพื่อวิเคราะห์หลักพุทธธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการองค์กรของบริษัทเอสซีจี ผลการวิจัย : วัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 1 พบว่า หลักธรรมในการครองตน ครองคน และครองงาน มีความสำคัญในการบริหารองค์กรในภาพรวม ดังนี้ หลักการครองตน ได้แก่ หลักวุฒิธรรม 4 และหลักสัปปุริสธรรม 7 หลักการครองคน ได้แก่ หลักสังคหวัตถุ 4 หลักพรหมวิหาร 4 หลักทศพิธราชธรรม 10 และหลักอธิปไตย 3 หลักการครองงาน ได้แก่ หลักสุจริต 3 หลักอิทธิบาท 4 หลักฆราวาสธรรม 4 หลักสัปปุริสธรรม 7 และหลักอปริหานิยธรรม 7 เป็นต้น วัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 2 พบว่า หลักบริหารการจัดการองค์กรของบริษัทเอสซีจีที่มีความสอดคล้องกับหลักพุทธธรรมาภิบาลโดยส่วนใหญ่เป็นหลักบริหารที่อยู่ในส่วนของการกำหนดเป้าหมายองค์กร นโยบายองค์กร วิสัยทัศน์ อุดมการณ์ หลักจรรยาบรรณ และหลักบรรษัทภิบาลของบริษัท วัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 3 พบว่า หลักพุทธธรรมาภิบาลที่มีความเชื่อมโยงอย่างชัดเจนกับหลักการบริหารจัดการองค์กรของบริษัทเอสซีจี กล่าวคือ หลักอธิปไตยสอดคล้องกับการจัดตั้งองค์กร หลักสัปปุริสธรรม 7 สอดคล้องกับการปกครององค์กรของเอสซีจี หลักประโยชน์สาม สอดคล้องกับ เป้าหมายและวัตถุประสงค์องค์กร
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการองค์กร 2. เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการองค์กรของบริษัทเอสซีจี และ 3. เพื่อวิเคราะห์หลักพุทธธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการองค์กรของบริษัทเอสซีจี ผลการวิจัย : วัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 1 พบว่า หลักธรรมในการครองตน ครองคน และครองงาน มีความสำคัญในการบริหารองค์กรในภาพรวม ดังนี้ หลักการครองตน ได้แก่ หลักวุฒิธรรม 4 และหลักสัปปุริสธรรม 7 หลักการครองคน ได้แก่ หลักสังคหวัตถุ 4 หลักพรหมวิหาร 4 หลักทศพิธราชธรรม 10 และหลักอธิปไตย 3 หลักการครองงาน ได้แก่ หลักสุจริต 3 หลักอิทธิบาท 4 หลักฆราวาสธรรม 4 หลักสัปปุริสธรรม 7 และหลักอปริหานิยธรรม 7 เป็นต้น วัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 2 พบว่า หลักบริหารการจัดการองค์กรของบริษัทเอสซีจีที่มีความสอดคล้องกับหลักพุทธธรรมาภิบาลโดยส่วนใหญ่เป็นหลักบริหารที่อยู่ในส่วนของการกำหนดเป้าหมายองค์กร นโยบายองค์กร วิสัยทัศน์ อุดมการณ์ หลักจรรยาบรรณ และหลักบรรษัทภิบาลของบริษัท วัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 3 พบว่า หลักพุทธธรรมาภิบาลที่มีความเชื่อมโยงอย่างชัดเจนกับหลักการบริหารจัดการองค์กรของบริษัทเอสซีจี กล่าวคือ หลักอธิปไตยสอดคล้องกับการจัดตั้งองค์กร หลักสัปปุริสธรรม 7 สอดคล้องกับการปกครององค์กรของเอสซีจี หลักประโยชน์สาม สอดคล้องกับ เป้าหมายและวัตถุประสงค์องค์กร
The three main purposes of the study were 1) to study principles of good governance in Buddhist perspective, 2) to study the business management of SCG, and 3) to analyze principles of good governance in Buddhist perspective reflected through SCG’s business management. The results of this study were as follows: The first purpose of the study revealed that most of the Good Governance principles in business management were the principles in the Buddhist teaching frameworks of Leading Self, People, and Work. The second purpose of the study indicated that business management principles of SCG that were related to Good Governance in Buddhist perspective were mostly rooted in the company’s mission, vision, ideology, code of conduct, and corporate governance. And the third purpose of the study was found that there were 15 principles of good governance in Buddhist perspective reflected in the business management of Siam Cement Group (SCG) ; Adhipateyya (supremacy) is relevant to organization establishment; Sappurisadhamma 7 (the seven virtues of the righteous) is accordant with the governance of SCG company; The three benefits were related to the organization’s goals and objectives.
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • สูตรการบริหารจัดการที่ดี บางพระชล หมวด 1 ผู้นำดี
  • หมวด 2 แผนดี
  • หมวด 3 บริการลูกค้าดี
  • หมวด 4 จัดการวัดวิเคราะห์ความรู้ดี
  • หมวด 5 จัดการทรัพยากรบุคคลดี
  • หมวด 6 จัดการกระบวนการดี
  • หมวด 7 ผลลัพธ์ดี
  • ข้อมูลแห่งอนาคต
หนังสือ