Search results

22 results in 0.1s

หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ
  • บทที่ 2 ระบบและตัวแบบพฤติกรรมองค์การ
  • บทที่ 3 การจัดการสื่อสาร
  • บทที่ 4 ระบบสังคมและวัฒนธรรมองค์การ
  • บทที่ 5 การจูงใจ
  • บทที่ 6 การประเมินผลการปฏิบัติงานและการจ่ายค่าตอบแทน
  • บทที่ 7 การให้อำนาจและการมีส่วนร่วม
  • บทที่ 8 ทัศนคติของพนักงาน
  • บทที่ 9 ปัญหาระหว่างองค์การและพนักงาน
  • บทที่ 10 ความขัดแย้ง อำนาจ และการเมืองในองค์การ
  • บทที่ 11 กลุ่มในองค์การ
  • บทที่ 12 การจัดการการเปลี่ยนแปลง
  • บทที่ 13 ความเครียดและการให้คำปรึกษา
  • บทที่ 14 พฤติกรรมองค์การข้ามวัฒนธรรม
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • ภาคที่ 1 ปรัชญาและประวัติศาสตร์ของทฤษฎีองค์การ - บทที่ 1 ธรรมชาติของสังคมศาสตร์
  • บทที่ 2 รูปแบบและพาราไดม์ทางสังคมศาสตร์
  • บทที่ 3 ทฤษฎีองค์การ
  • บทที่ 4 ประวัติศาสตร์ของทฤษฎีองค์การ
  • ภาคที่ 2 แนวคิดในทฤษฎีองค์การ
  • บทที่ 5 ทฤษฎีองค์การคลาสสิก
  • บทที่ 6 ทฤษฎีองค์การนีโอคลาสสิค
  • บทที่ 7 ทฤษฎีทรัพยากรมนุษย์หรือมุมมองพฤติกรรมองค์การ
  • บทที่ 8 ทฤษฎีองค์การโครงสร้างสมัยใหม่
  • บทที่ 9 ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์องค์การ
  • บทที่ 10 ทฤษฎีอำนาจและการเมือง
  • บทที่ 11 ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์การ
  • บทที่ 12 การปฏิรูปโดยการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ
  • บทที่ 13 ทฤษฎีองค์การและสภาพแวดล้อม
  • ภาคที่ 3 ภาคปฏิบัติและทิศทางใหม่ในทฤษฎีองค์การ
  • บทที่ 14 การนำทฤษฎีองค์การไปปฏิบัติ
  • บทที่ 15 การเปลี่ยนแปลงองค์การ
  • บทที่ 16 ทิศทางใหม่ในทฤษฎีองค์การ
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2560
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ของบุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 86 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) โดยการทดสอบ F-test ผลการวิจัย พบว่า 1) ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ดด โดยรวมทั้งหกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความโปร่งใส และด้านหลักนิติธรรม 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ไม่แตกต่างกัน 3) บุคลากรได้เสนอแนะการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก คือ ควรที่จะปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และถูกต้อง เมื่อรับเรื่องไปแล้วก็ควรที่จะดำเนินการทันทีและควรที่จะชี้แจงให้ประชาชนทราบด้วย และควรมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงานขององค์การบริหารส่วนตำบลให้มากขึ้น
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ของบุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ เป็นบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 86 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) โดยการทดสอบ F-test ผลการวิจัย พบว่า 1) ความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ดด โดยรวมทั้งหกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านการมีส่วนร่วม ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความโปร่งใส และด้านหลักนิติธรรม 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า บุคลากรที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลดู่น้อย อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ไม่แตกต่างกัน 3) บุคลากรได้เสนอแนะการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก คือ ควรที่จะปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และถูกต้อง เมื่อรับเรื่องไปแล้วก็ควรที่จะดำเนินการทันทีและควรที่จะชี้แจงให้ประชาชนทราบด้วย และควรมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับงานขององค์การบริหารส่วนตำบลให้มากขึ้น
This research served the purposes: 1) to study personnel’s opinions on Tambon Dunoi Administrative Organization’s good governance-based administration in ChaturaphakPhiman district of Roi Et province, 2) to compare such opinions related to their differing genders, ages and educational levels, 3) to offer suggestions for enhancing its good governance-based administration. The sampling groups taking part in the research comprised its own personnel, numbering 86 individuals. The research instrument was the Likert-type questionnaire with each question possessing the reliability at .86. Statistics used for data analyses embraced percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test (One-way ANOVA). Results of research findings: 1) Personnel’s opinions on its good governance-based administration in the aforesaid district have been rated at the high scale in the overall aspect. Considering each one in its descending order of means, they formed: morality, accountability, participation, value of money, transparency and rule of law. 2) Comparative hypothesis testing results have found that their differing genders, ages and educational levels show no significant differences in their opinions in the overall aspect. 3) Personnel have offered suggestions for enhancing its good governance-based administration in descending order of three frequencies that authorities of the administrative organization should: i) perform their duties with justice and decency; ii) carry out processing document sat once after receiving them and clarify the duration of ongoing documents to residents in contact, iii) increasingly disseminate pieces of information on tasks of the administrative organization.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ตามความคิดเห็นของประชาชนที่เพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพ ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชนในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่เป็นหัวหน้าครัวเรือน หรือตัวแทน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 381คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ จำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA : F-test) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบการวิเคราะห์ ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า : 1) ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทั้งหกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านหลักความคุ้มค่า 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ไม่แตกต่างกัน และ 3) ประชาชนมีข้อเสนอแนะของในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ดเรียงลำดับตามความถี่จากสูงไปหาต่ำสามอันดับแรก ได้แก่ ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายการบริหารจัดการ ควรจัดอบรมด้านคุณธรรมให้กับบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลทุกปี และควรประชาสัมพันธ์ข้อบัญญัติให้ประชาชนทราบทุกครั้ง ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด บริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาลทั้งหกด้านปรากฏในระดับมาก ทั้งนี้เป็นเพราะเพราะเป็นองค์การและบุคลากรมีที่มาโดยกฎหมาย จึงต้องบริหารจัดการตามที่กฎหมายกำหนด ยึดหลักศาสนาพุทธเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารอย่างพร้อมเพียง การบริหารจัดการ มีความโปร่งใสด้วย มีการเชิญประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจรับงานต่างๆอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารและสมาชิกสภามีความรับผิดชอบสูงเพราะมี ประชาชนคอยติดตามตรวจสอบ การบริหารจัดงานดำเนินการอย่างคุ้มค่า เพราะมีการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด ตามความคิดเห็นของประชาชนที่เพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพ ต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชนในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนที่เป็นหัวหน้าครัวเรือน หรือตัวแทน ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 381คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ จำนวน 30 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .92 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA : F-test) โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประกอบการวิเคราะห์ ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า : 1) ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทั้งหกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักนิติธรรม ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักการมีส่วนร่วม และด้านหลักความคุ้มค่า 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ประชาชนที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และการประกอบอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม ไม่แตกต่างกัน และ 3) ประชาชนมีข้อเสนอแนะของในการพัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ดเรียงลำดับตามความถี่จากสูงไปหาต่ำสามอันดับแรก ได้แก่ ควรให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายการบริหารจัดการ ควรจัดอบรมด้านคุณธรรมให้กับบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลทุกปี และควรประชาสัมพันธ์ข้อบัญญัติให้ประชาชนทราบทุกครั้ง ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่าองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอจตุรพักตรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด บริหารจัดการ ตามหลักธรรมาภิบาลทั้งหกด้านปรากฏในระดับมาก ทั้งนี้เป็นเพราะเพราะเป็นองค์การและบุคลากรมีที่มาโดยกฎหมาย จึงต้องบริหารจัดการตามที่กฎหมายกำหนด ยึดหลักศาสนาพุทธเป็นแนวทางในการปฏิบัติ ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารอย่างพร้อมเพียง การบริหารจัดการ มีความโปร่งใสด้วย มีการเชิญประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจรับงานต่างๆอย่างต่อเนื่อง ผู้บริหารและสมาชิกสภามีความรับผิดชอบสูงเพราะมี ประชาชนคอยติดตามตรวจสอบ การบริหารจัดงานดำเนินการอย่างคุ้มค่า เพราะมีการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดี
The objectives of the research were 1) to study the residents’ opinions on good governance-based administration of tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District, Roi-et Provice, 2) to compare their opinions on its good governance-based administration, resting on the classification of the genders, ages, educational levels and occupations and 3) to regulate suggestions to improve good governance-based administration of tambon administrative organizations. The sample group comprised of 381 residents who are the heads of the families or his/her representatives pertaining to tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District. The research instrument was 30 items of five rating questionnaires gaining the reliability at .92. The statistic tools exploited for the research for the research encompassed frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and One Way ANOVA : F-test. The results of the quantitative research were as follows; 1) The opinions of the residents on good governance-based administration of tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District, Roi-et Province as overall and all aspects were rated at high level. The aspects placed in descending order of means take in; responsibility, rule of law, virtues, transparency, participation and effectiveness. 2) The comparative results of their opinions of the residents on good governance-based administration indicated that the variables of their genders, ages, educational levels and occupations showed no significant differences in the overall and aspects. 3) Their suggestions in descending order of three frequencies for its good governance-based administration were recommended. First, the people should be participated in the administrative public policy. Second, the virtue training of personnel should be held yearly, Finally, people should be informed of all rule and laws of tambon administrative organizations. The result of the qualitative research was found that the opinions of the residents on good governance-based administration of tambon administrative organizations in Jaturaphakpiman District, Roi-et Province as overall and all aspects were rated at high level because the organizations and the personnel were established by law and administers under the law, performing work as the teaching of Buddhism, the residents participate in administration, the work management was carried on transparently, the executive and the members of the assembly were elected work under accountability due to the checking of the residents, the work administration and management was carried on effectively because there are changes in good ways.